1 / 11

วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน

การติดตามผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ผ่านระบบ Web Conference ). วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน. ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ. ระดับคะแนน 5.

joel-holden
Download Presentation

วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การติดตามผลการดำเนินงานตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553(ผ่านระบบ Web Conference) วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553ณ ประชุม War roomกรมการพัฒนาชุมชน

  2. ตัวชี้วัดที่ 1.1.1ระดับความสำเร็จของการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ดำเนินงานได้ 877หมู่บ้าน สัจจะสะสมร้อยละ12 น้ำหนักร้อยละ 4 5. ระดับเพิ่มขึ้นของเงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ร้อยละ 5 4. ระดับเพิ่มขึ้นของเงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ร้อยละ 3 3. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 877 หมู่บ้าน (877อำเภอ) 2. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 770 หมู่บ้าน(770อำเภอ) • หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 525 หมู่บ้าน (525อำเภอ)

  3. ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ น้ำหนัก: ร้อยละ 3 คำอธิบาย:  กลุ่มผู้ผลิตชุมชนหมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ยกเว้น กทม.) จำนวนทั้งสิ้น 18,230 กลุ่ม  การบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ หมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนสามารถบรรลุเป้าหมายเชิงรายได้ตามแผนธุรกิจ คือ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีการดำเนินกิจการตามแผนธุรกิจและมีรายได้คุ้มทุน  รายได้คุ้มทุน หมายถึง รายได้รวมเท่าต้นทุนรวมพอดี ดำเนินการได้ 5,500กลุ่ม ร้อยละ 30.17 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน เป้าฯ ปี 2553 2550 2551 2552 ร้อยละ 30 1 2 3 4 5 - ร้อยละ 20 - 3,020 ร้อยละ 22.5 ร้อยละ 25 ร้อยละ 27.5 ร้อยละ 30 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนกลุ่มผู้ผลิตชุมชนในปี 2553 จำนวน 18,230กลุ่ม

  4. ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ดำเนินงานได้ 75 แห่ง 75 จังหวัด น้ำหนักร้อยละ 2 5. สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ได้รับประกาศรับรองการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน โดยต้องมีธนาคารออมสินหรือ ธ.ก.ส. ที่มีสาขาในจังหวัดให้การรับรอง 4. มีการประเมินผลการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม โดยมีคณะทำงาน ประเมิน และจะต้องมีผู้ประเมินภายนอก(Third Party)ร่วมประเมิน ด้วย 3. มีการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ตามเกณฑ์ครบ 75 จังหวัด 75 แห่ง 2. มีการดำเนินงานในระดับที่1ครบถ้วนและผู้นำกองทุนชุมชนได้รับ การพัฒนาศักยภาพโดยผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90 • มีคณะทำงานสนับสนุนการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุน • ชุมชนระดับจังหวัด75จังหวัด 75 คณะและคณทำงานฯระดับอำเภอ • 75อำเภอ 75 คณะ

  5. ตัวชี้วัดที่ 3.1.1ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการยกระดับจากระดับ 2 เป็นระดับ 3 น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย:  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน ด้วยการออมเงินแล้วนำมาสะสมรวมกัน เป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อเป็นทุนสำหรับสมาชิกกู้ยืมไปใช้ในการลงทุนประกอบอาชีพ หรือสวัสดิการของครอบครัว  กลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 2 มีคะแนน 58-76 คะแนน ตัวชี้วัดหลัก ได้ 3 คะแนน 6 ตัวขึ้นไป  กลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 3 มีคะแนน 77 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดหลัก ได้ 3 คะแนน 8 ตัวขึ้นไป ดำเนินการได้ 3,921กลุ่ม ร้อยละ 40.83 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน เป้าฯ ปี 2553 2550 2551 2552 ร้อยละ 40 1 2 3 4 5 3,069 ร้อยละ 24 3,917 3,876 ร้อยละ 28 ร้อยละ 32 ร้อยละ 36 ร้อยละ 40 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 2 ทั้งหมด 9,602กลุ่ม

  6. ตัวชี้วัดที่ 3.1.2ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 น้ำหนักร้อยละ 3 ดำเนินการได้ 2,519 กลุ่มและรายได้.....บาท 5. มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมาย รวมทั้งหมด เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่า การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 4. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาจาก KBOจังหวัด ได้ร้อยละ50 ในภาพรวม (2,125 กลุ่ม) 3. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBOจังหวัด ได้ ร้อยละ 35 ในภาพรวม (1,488กลุ่ม) 2. กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ กลุ่ม(4,250กลุ่ม) • กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายที่มีความต้องการ • ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนของแต่ละจังหวัด(ร้อยละ • 20 ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนฯหรือ4,250กลุ่ม

  7. ตัวชี้วัดที่ 3.1.3ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย:  ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชน หมายถึง ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างน้อย 5 ใน 7 กิจกรรม ได้แก่ 1) การจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช.2ค 2) การจัดทำแผนชุมชน 3) การจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชน 4) การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5) การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย 6) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กิจกรรมบังคับ 1-4 กิจกรรมที่ 5-7 เลือกอีกอย่างน้อย 1 กิจกรรม ดำเนินการได้ 11,021คน ร้อยละ 86.30 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน เป้าฯ ปี 2552 2550 2551 2552 ร้อยละ 85 1 2 3 4 5 - ร้อยละ 65 50.67 65.31 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนผู้นำ อช.ที่ได้รับคำสั่งแต่งตั้งจากจังหวัดให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ ปี 52-53 ทั้งหมด 12,770คน

  8. ตัวชี้วัดที่ 3.1.4ระดับความสำเร็จของแผนชุมชนที่ผ่าน การรับรองมาตรฐาน ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ดำเนินการได้ ได้มาตรฐาน 11,165แผนและได้งบประมาณ9,947แผน ร้อยละ89.09 น้ำหนักร้อยละ 2 5.ร้อยละ60ของแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(6,240) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. อย่างน้อย 1 กิจกรรม/โครงการ 4. ร้อยละ50ของแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(5,184) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. อย่างน้อย1กิจกรรม/โครงการ 3. จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(10,367) 2. จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(9,675) • จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน (8,984)

  9. ตัวชี้วัดที่ 3.1.5ระดับความสำเร็จของหมู่บ้านที่มีการปรับปรุง การนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ดำเนินการได้ 2,367 หมู่บ้าน น้ำหนักร้อยละ 3 5.หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ในระดับคะแนน4จัดทำข้อมูลเด่นที่ แสดงเอกลักษณ์ของหมู่บ้านตามเกณฑ์ที่กำหนด อย่างน้อย 1 ประเภท (1,316หมู่บ้าน) 4. หมู่บ้านที่มีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ในระดับ3คะแนนและมีรูปภาพกิจกรรม เผยแพร่ทางเว็บไซต์ไม่น้อยกว่าร้อยละ50(1,316หมู่บ้าน) 3.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ครบ ตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ)ร้อยละ100(2,631) 2.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ ร้อยละ90(2,368) • 1.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ • ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ) ร้อยละ80 • (2,105หมู่บ้าน)

  10. ฝากจากท่านรอง ฯ พิสันติ์ • จังหวัดควรให้ความสนใจในฐานข้อมูลของแต่ละตัวชี้วัด • ฝากกลุ่มสารสนเทศ ฯ ทำระบบฐานข้อมูลให้ชัดเจน • ตรวจสอบ เตรียมหลักฐาน ให้พร้อมตรวจ ฯ • จังหวัดซักซ้อม กลุ่มเป้าหมายควรรู้ตัวด้วย เพื่อเตรียมความพร้อม • สุ่มตรวจเรื่องความพึงพอใจ ฯ จาก สนง.สถิติ

  11. ขอขอบคุณ ขอบพระคุณค่ะ

More Related