1 / 41

The basic principle of the “NEW” integrated Development Indicators:

Reshaping National Development with the Integrated Development Indicators by Paiboon Wattanasiritham Chairperson, Volunteering Heart Foundation. The basic principle of the “NEW” integrated Development Indicators:. Be holistic and integrated in content, process and manner

Download Presentation

The basic principle of the “NEW” integrated Development Indicators:

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Reshaping National Development with the Integrated Development Indicatorsby Paiboon WattanasirithamChairperson, Volunteering Heart Foundation

  2. The basic principle of the “NEW” integrated Development Indicators: • Be holistic and integrated in content, process and manner • Be developed based on three core foundations: (1) Goodness or Merit (2) Capability or Capacity and (3) Well-being or holistic health • Working differently but relatedly at both national and local levels

  3. At the local level, the indicators would function as a learning and development tool of the community [as a means, not the end in itself], thus it should be understood, developed and used collectively by the community and for the community.

  4. Developing the local-level indicators would emphasize 4 key components: (1) clear development objectives (2) concrete, measurable and practical indicators for measuring progress toward development objectives (3) how to obtain the indicators on a continuing and consistent basis (4) learn and improve on the indicator continually

  5. At the national level, the indicators should come from the collective opinion of the society as a whole, not what the government or academicians or researchers determine. Therefore, all representative parts of the society should be involved in the process and the content as well as the utilization of the indicators on a continuing basis.

  6. Two tangible cases at the local level [covering the area of a Tambon Administration Organization or a sub-district] will be elaborated as an example of how the above principles are being applied and emerging on the real ground of Thailand. These two cases have been on-going, mainly using the Integrated Development Indicators as a learning and development tool, with active participation of all partners in the area.

  7. หลักการ กระบวนการ ขั้นตอนการสร้างเป้าหมายและตัวชี้วัดการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นโดยไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมประธานมูลนิธิหัวใจอาสา

  8. คิดเอง ทำเอง ร่วมมือ รวมพลัง อะไรก็ได้ คิดจริง ทำจริง เรียนรู้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ร่วมสร้างขบวนการ แข็งขัน บันเทิง หลักการสร้างเป้าหมายและตัวชี้วัดการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

  9. 1. คิดเอง ทำเอง • การสร้างตัวชี้วัดเป็นเรื่องของชุมชน ท้องถิ่น • ตัวชี้วัดที่ราชการคิดขึ้นเช่น จปฐ. เป็นตัวชี้วัดที่ดี แต่ชาวบ้านไม่ได้คิดเอง การใช้ประโยชน์จึงน้อย • ราชการส่วนท้องถิ่น และราชการส่วนภูมิภาค ยังไม่แบ่งสรรและเชื่อมโยงการทำงานอย่างเหมาะสม ทั้งๆที่มีนโยบายเน้นเรื่องการทำงานของท้องถิ่น และภาคประชาชน • ชุมชนต้องตัดสินใจเอง และนำมาใช้ประโยชน์

  10. 2. ร่วมมือ รวมพลัง ในท้องถิ่นมีหลายกลุ่ม / องค์กรต้องมีการร่วมมือ รวมพลังกัน จึงจะสามารถได้รับความร่วมมือ กับ อบต. ราชการส่วนภูมิภาค สถาบันการศึกษา NGO เอกชน พ่อค้า นักธุรกิจ ภาคธุรกิจถ้าจัดการเชื่อมโยงให้ดีจะมีบทบาทได้มาก ตัวอย่าง จังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น ต้นแบบ OTOP ให้ทุกฝ่ายเข้ามาร่วมกันได้จึงเป็นการดีที่สุด ต้องร่วมกันอย่างเป็นมิตรอย่างสร้างสรรค์ มีเป้าหมายร่วมกัน คือ ชุมชนเป็นสุข

  11. 3. อะไรก็ได้ หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาร่วมคิดร่วมพัฒนาตัวชี้วัด โดยไม่ควรมีสูตรสำเร็จ ที่เมืองชีแอตเทิล สหรัฐอเมริกา ตัวชี้วัด คือ จำนวนปลาแซลมอนที่อยู่ในแม่น้ำ แสดงถึงคุณภาพของสภาพแวดล้อม บ้านจำรุง จังหวัดระยอง ในการดูคุณภาพดินให้ดูจากจำนวนไส้เดือนในดิน เป้าหมายและตัวชี้วัด เป็นสิ่งที่ชุมชนต้องเลือก คนในชุมชนพอใจร่วมกัน เป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนา อยู่ที่ความสุขหรือ “ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”

  12. 3 เสาหลัก

  13. 4. คิดจริง ทำจริง ต้องตั้งใจและจริงจังกับความคิด คิดได้แล้วให้ลงมือทำไปเลย ไม่ต้องห่วงกังวลว่าจะผิดพลาด หรือไม่สมบูรณ์ เพราะในโลกนี้ไม่มีความสมบูรณ์ ความผิดพลาดจะเป็นบทเรียนให้เข้าใจและพัฒนาได้ดียิ่งขึ้น

  14. 5. เรียนรู้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้จากสิ่งที่ลงมือทำ อาจเทียบเคียงกับตำบลอื่นๆ ทบทวนเหตุการณ์เพื่อเรียนรู้และพัฒนาต่อไป “วงจรการพัฒนา” ได้แก่ (1) คิดหรือวางแผน (2)ลงมือปฏิบัติ (3) วัดผลหรือประเมินผล และ(4) ปรับปรุงพัฒนา การเรียนรู้และพัฒนาเป็นวงจรที่ต่อเนื่อง คิดไป ทำไป วัดผลประเมินผลไป และปรับปรุงพัฒนาไป จะเกิดการปรับปรุงพัฒนาตัวชี้วัดให้ดีขึ้นเรื่อยๆ

  15. 6. ร่วมสร้างขบวนการ N K C P M N = Networkเครือข่าย การเชื่อมโยง K = Knowledgeความรู้ ข้อมูลการศึกษาวิจัย การจัดการความรู้ C = Communicationการสื่อสาร สื่อสื่อท้องถิ่น วิทยุ โทรทัศน์ P = Policy นโยบายระดับท้องถิ่น/จังหวัด/ประเทศ กฎหมาย/ข้อบังคับ การจัดสรรงบประมาณ ที่เอื้ออำนวย ไม่เป็นอุปสรรค M = Managementการบริหารจัดการที่ดี มีคุณภาพประสิทธิภาพ

  16. 7. แข็งขัน บันเทิง ต้องคิดและทำอย่างเอาใจใส่ มีความจริงจัง พร้อมกับมีความสุข ไม่ร้อนรนและเร่งรีบ ต้องทำไปแล้วมีความสุขด้วย เช่น รูปธรรมของคุณแหลม ชาวนาที่ยโสธร ทำงานพัฒนาต้องมีความสุขเพราะทำเรื่องดีๆ

  17. กระบวนการ ขั้นตอนการสร้างเป้าหมายและตัวชี้วัดการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เปรียบเหมือนการเดินขึ้นบันได 5 ขั้น คือ มีเป้าหมายที่ดีและชัดเจน มีตัวชี้วัดความสำเร็จที่ดีและชัด มีวิธีการที่จะได้ตัวชี้วัดที่ชัดเจนและเป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง มีวิธีการที่ดีและเหมาะสมที่จะบรรลุเป้าหมายให้ได้ผลตามตัวชี้วัด มีการติดตามผลที่ดีและเหมาะสม

  18. 1. มีเป้าหมายที่ดีและชัดเจน เป้าหมายร่วมกันของขบวนองค์กรชุมชนในแต่ละพื้นที่ คือประชาชนในพื้นที่นั้นมีความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ถามตนเองว่า เป้าหมายเราดีไหม? ชัดเจนไหม? เราต้องรวมพลังกันให้ได้ จะยากถ้าเราเห็นไม่ตรงกันหรือมีความเห็นขัดแย้งกันก็จะเป็นปัญหาตั้งแต่ต้น

  19. 2. มีตัวชี้วัดความสำเร็จที่ดีและชัด มี “กุญแจ” อยู่ 3 ดอก เพื่อไขไปสู่ความสำเร็จหรือ “เสาหลัก”3 ต้น ที่จะค้ำยันให้องค์กรชุมชนมั่นคง หรือ “กงล้อ”3 กงล้อ ที่จะหมุนไปเรื่อยๆ ได้แก่ 1) ความดี 2) ความสามารถ 3) ความสุข สามารถสร้างตัวชี้วัด ตามหลัก 3 ข้อนี้ การสร้างเป้าหมายและตัวชี้วัดแต่ละพื้นที่อาจแตกต่างกัน ไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน

  20. 3. มีวิธีการที่จะได้ตัวชี้วัดที่ชัดเจนและเป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง โดยสามารถระบุได้ว่าจะมาจากแหล่งใดโดยวิธีการใด ฯลฯ

  21. 4. มีวิธีการที่ดีและเหมาะสมที่จะบรรลุเป้าหมายให้ได้ผลตามตัวชี้วัด ทำได้หลายวิธี เช่นประชุมปรึกษาหารือกัน สำรวจดูสิ่งที่ดีๆที่เรามีอยู่แล้ว หรือทำได้ดีอยู่แล้ว ศึกษาเพิ่มเติม เรียนรู้จากที่อื่นเช่นจากงานวิจัย การศึกษาดูงาน เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อินเตอร์เน็ต ธนาคารกรามีน (Grameen Bank) ที่บังคลาเทศ สามารถแก้ปัญหาความยากจนได้ตั้งมากว่า 30 ปี สมาชิกกลุ่มละประมาณ 40 คนมีการประชุมทุกสัปดาห์ โดยมีการกล่าวปณิธาน 16 ข้อก่อนการประชุม ดร.มูฮัมหมัด ยูนุส (Dr.Muhammad Yunus) ผู้ก่อตั้งและกรรมการผู้จัดการธนาคาร ได้รับรางวัลโนเบล

  22. 5. มีการติดตามผลที่ดีและเหมาะสม • ต้องวัดผล • สภาองค์กรชุมชนฯ ทำงานมา 3 เดือน หรือ 6 เดือน ผลการทำงานเป็นอย่างไร เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ ระดมความคิด หาทางทำงานให้ดีขึ้น • อะไรที่ดีหรือสำเร็จก็ขยายผลต่อ อะไรไม่ดีก็หาวิธีการแก้ไขปรับปรุงหรือพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • การติดตามผลเป็นการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  23. สรุปเป้าหมาย ตัวชี้วัดการพัฒนาของขบวนชุมชนท้องถิ่น ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

  24. สรุปเป้าหมาย ตัวชี้วัดการพัฒนาของขบวนชุมชนท้องถิ่น ต.หนองพันจันทร์ อ.บ้านคา จ.ราชบุรี

  25. ขอบคุณ…

More Related