1 / 182

TQM: Total Quality Management

TQM: Total Quality Management. โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย. 5. การมุ่งเน้น บุคลากร. 6. การจัดการ กระบวนการ. โดย อ . ดร . เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ สาขาบริหารการก่อสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 7. ผลลัพธ์ - ผลิตภัณฑ์

indiya
Download Presentation

TQM: Total Quality Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. TQM: Total Quality Management โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 6. การจัดการ กระบวนการ โดย อ.ดร.เทอดธิดา ทิพย์รัตน์สาขาบริหารการก่อสร้างภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 7. ผลลัพธ์ -ผลิตภัณฑ์ -การมุ่งเน้นลูกค้า -การเงินและตลาด -มุ่งเน้นบุคลากร -ประสิทธิผลของกระบวนการ -การนำองค์กร 2.การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 1. การนำองค์กร 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  2. TQA TQM

  3. วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อให้ทราบถึงแนวคิด หลักการ วิธีการของการบริหารจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร TQM • 2. เพื่อเสนอแนวคิด และแนวทาง ของการนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA มาใช้ในการพัฒนาองค์กร • 3. เพื่อให้เกิดความตระหนักและความเข้าใจตลอดจนเห็น ถึงความสำคัญของ TQM และTQA • 4. เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ ประสบการณ์ และแนวคิด จากการนำ TQM & TQA เข้ามาใช้ในการบริหาร - จัดการองค์กร

  4. ประเด็นการเรียนรู้ • 1. ทำไมจึงต้องนำ TQM เข้ามาประยุกต์ใช้ในองค์กร • 2. TQM คืออะไร ? • 3. โลกทัศน์แบบเดิมและโลกทัศน์แบบ TQM • 4. ข้อเหมือนและแตกต่างของ TQM & TQA • 5. กระบวนการปฎิบัติงาน • 6. TQA ลักษณะที่สำคัญของคำถาม • 7. ปัญหาและแนวทางในการแก้ไข • 8. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • 9. ถาม – ตอบ

  5. ผลประโยชน์ที่จะได้รับผลประโยชน์ที่จะได้รับ • 1. รู้และเข้าใจใน แนวคิด ความสำคัญ และขั้นตอนของการนำ TQM & TQA ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร • 2. ทราบถึงปัญหา และแนวทางในการแก้ไข • 3. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ที่สำคัญมีอะไรบ้าง

  6. กรวยประสบการณ์ของเดล • 10 % ของสิ่งที่อ่าน • 20% ของสิ่งที่ฟัง • 30 % ของสิ่งที่ดู • 50 % ของสิ่งที่ได้ยินและเห็น • 70 % ของสิ่งที่ได้พูดหรือเขียน • 90 % ของสิ่งที่เขาได้กระทำ

  7. วิธีการชวนคุย • * อ่านแล้วรู้ + ดูแล้วจำ + ทำแล้วเข้าใจ • * ตัว – ใจ (รับรู้ เรียนรู้) • * ถาม – ตอบ (ถูกหมด) • * โทร ..... (เปิดเสรี)

  8. 8 ถูกต้องของการนำ TQM &TQA ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร • 1.ความเข้าใจที่ถูกต้อง(Right Understanding) • 2.ความคิดที่ถูกต้อง (Right Thinking) • แนวคิด ค่านิยม HOQ HDM QBP QWP อะไร อย่างไร • ข้อกำหนดพื้นฐาน ข้อกำหนดโดยรวม ข้อกำหนดต่าง ๆ • • คิดในกรอบ คิดนอกกรอบ

  9. ทำไมจึงต้องนำTQMเข้ามาประยุกต์ใช้ในการบริหาร-จัดการ ???

  10. T Q M • T = Total หมายถึง การปรับปรุงกระบวนการให้ด้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยการบริหารที่มีคุณภาพ • Q=Quality หมายถึง กระบวนการทุกกระบวนการในองค์กรที่เพื่อนร่วมงานทุกคนมีส่วนร่วมในการทำให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ • M = Management หมายถึง คุณภาพที่ลูกค้า (ภายใน – ภายนอก)ประทับใจ-พึงพอใจที่ได้รับ จากกระบวนการก่อนหน้า

  11. TQM มีลักษณะที่สำคัญ 3 ประการ • 1. การสร้างความพึงพอใจให้ก้กับลูกค้า • (กระบวนการถัดไปคือลูกค้าของเรา ,งานที่ไม่ม่มีลูกค้า ไม่ถ่ถือว่าเป็นงาน ) • 2. ทุกคน มีส่วนร่วม • (งานที่มีคุณภาพย่อมเกิดมาจากกระบวนการทำงานที่มีคุณภาพที่ทุกคนร่วมมือกันยึดถือปฏิบัติ) • 3. เป็นระบบบริหารที่ประกอบด้วยปรัชญา แนวคิด และวิธีการอย่างชัดเจน

  12. ค่าของงานอยู่ที่ความพึงพอใจของลูกค้าค่าของงานอยู่ที่ความพึงพอใจของลูกค้า

  13. คุณภาพ คือ .... ในความหมายเดิม • -: การทำให้ได้ตามมาตรฐาน • เห็นด้วยหรือไม่ ? • มาตรฐานของใคร ?

  14. คุณภาพ ในความหมายใหม่ • -: คือความพอใจของลูกค้า • -: คือคุณประโยชน์ที่ลูกค้าได้รับจากการใช้ สินค้า และบริการ • -: คือสภาพที่เป็นคุณ

  15. คุณภาพ ของสินค้า คือ ? สามารถจำแนกได้ 7 ลักษณะ (ตามหลักของคุณประโยชน์) • 1.ประโยชน์ใช้สอยจากคุณสมบัติทางกายภาพ • 2.มีนวัตกรรมที่แปลกใหม่และโก้หรู • 3.พอดีกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย • 4.สะดวกในการใช้งานและการสั่งซื้อ • 5.เป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป • 6.มีบริการที่ดี • 7.ราคาที่ต่ำกว่า

  16. คุณภาพ ของบริการ คือ ? สามารถจำแนกได้ 7 ลักษณะ (ตามหลักของคุณประโยชน์) • 1.สร้างความเป็นมิตร อบอุ่นใจ • 2.ให้ความสะดวกสะบาย • 3.ให้ข้อมูลข่าวสารเมื่อลูกค้าซักถามตามควร • 4.ปฏิบัติงานตามคำขอร้องอันควร • 5.ให้ความช่วยเหลือตามควร • 6.ให้ความกระจ่างแก่ลูกค้าเมื่อมีปัญหา • 7.สร้างความนิยมในสินค้าหรือบริการ

  17. กำไร คือ ..... ?????? • กำไร = ราคาขาย – (ต้นทุน+คชจ.) คชจ ค่าใช้จ่าย

  18. มั่นคง และ มั่นคง • กำไร = ความพอใจของลูกค้า • กำไรของบริษัทจะมากหรือน้อยย่อมผันแปร • ตามคุณภาพ หรือสภาพที่เป็นคุณ หรือคุณประ • โยชน์ที่บริษัทสร้างสรรค์ ให้แก่ลูกค้าและสังคม • ว่าคุ้มค่าคุ้มราคาที่จ่ายไปหรือไม่

  19. โลกทัศน์แบบเดิม และ โลกทัศน์แบบ TQM

  20. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบทีคิวเอ็ม” 1) วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินธุรกิจ • โลกทัศน์แบบดั้งเดิม • 1.1)วัตถุประสงค์ของการดำเนินธุรกิจคือแสวงหากำไร • 1.2)กำไรมาจากสมการยอดขายลบด้วยต้นทุน • โลกทัศน์แบบทีคิวเอ็ม • 1.1)วัตถุประสงค์ของการดำเนินธุรกิจคือผลิตสินค้าและบริการที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย์ • 1.2) กำไรมาจากความพึงพอใจของลูกค้า

  21. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบทีคิวเอ็ม” 2) การกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน • กำหนดเป้าหมายที่เป็นตัวเลขทางการเงินล้วนๆ อาทิ เพิ่มยอดขาย20%, ลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย 10%, เพิ่มผลผลิต 10% • มุ่งเน้นที่การปรับปรุงคุณภาพของสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง

  22. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบทีคิวเอ็ม” 3) การปรับปรุงความสามารถแข่งขันของธุรกิจ • ผลิตสินค้าและบริการให้ได้ตามข้อกำหนด • ปรับปรุงคุณภาพของสินค้าและบริการอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

  23. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบทีคิวเอ็ม” 4) บทบาทของผู้บริหารและผู้บังคับบัญชา • วางแผน มอบหมายงาน กำกับประเมินผลงาน • ช่วยให้ลูกน้องและเครื่องจักรทำงานได้ดีขึ้น

  24. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบ TQM” 5) การประกันคุณภาพของสินค้าและบริการ • ใช้การตรวจสอบคุณภาพในขั้นสุดท้ายเพื่อป้องกันมิให้ของเสียหลุดรอดไปถึงมือลูกค้า • เอาใจใส่ต่อการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการทำงานให้ความสามารถถึงระดับปลอดของเสีย คุณภาพของสินค้าและบริการเกิดจากระบวนการผลิตและการทำงานที่มีคุณภาพ

  25. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบ TQM” 6) การควบคุมกระบวนการทำงาน • เขียนในสิ่งที่คุณทำ ทำตามที่คุณเขียน • เขียนในสิ่งที่ควรทำ พยายามทำให้ได้ • ตามที่เขียน

  26. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบ TQM” 7) ระบบแรงจูงใจ • ใช้การแข่งขันกันเองระหว่างพนักงานด้วยระบบการประเมินผลงานประจำปีการจัดอันดับความดีความชอบ การให้รางวัล และ การลงโทษ โดยเชื่อว่าระบบเช่นนี้จะทำให้พนักงานเกิดแรงจูงใจในการทำงาน • ความต้องการทำงานให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพดียิ่ง ๆ ขึ้นเป็นแรงจูงใจโดยธรรมชาติทีมีอยู่ในจิตใจของมนุษย์ทุกคนอยู่แล้ว การแข่งขันกันจะทำลายความสามัคคีในการทำงาน และทำให้พนักงานหมดแรงจูงใจในการทำงาน

  27. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบ TQM” 8) ความสัมพันธ์กับผู้จัดหาและผู้แทนจำหน่าย • ใช้วิธีประกวดราคา ซื้อจากผู้จัดหาที่ราคาต่ำสุด • สร้างความสัมพันธ์กับผู้จัดหาระยะยาวซื้อจากผู้จัดหาเพียงรายเดียวต่อวัตถุดิบหนึ่งรายการ

  28. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบ TQM” 9) ความสัมพันธ์กับลูกค้า • ลูกค้าเป็นบุคคลภายนอก เป็นคู่กรณีที่จะต้องช่วงชิงการได้เปรียบเสียเปรียบกันกับบริษัท • ลูกค้าเป็นส่วนหนึ่งและเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของกระบวนการธุรกิจบริษัทอยู่ได้เพราะลูกค้าไประโยชน์จากสินค้าและบริการที่บริษัทผลิตขึ้น

  29. โลกทัศน์แบบดั้งเดิม โลกทัศน์แบบ TQM โลกทัศน์ด้านการบริหาร “แบบดั้งเดิม กับ แบบ TQM” 10) การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์กร • เป็นหน้าที่ของพนักงานแต่ละคน • เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบหลักของผู้บริหารระดับสูง

  30. TQM Model และองค์ประกอบที่สำคัญ • 1. JUSE • 2. KUME • 3. KANO • 4. Deming • 5. DR.Veerapot

  31. The Juse’s TQM Model

  32. TQM มีองค์ประกอบหลัก 7 ประการ • 1. ระบบการนำา (Leadership System) • 2. วิถีธรรมแห่ง่ง TQM (The Guiding Principles) • 3. แนวคิดแบบ TQM (The Concepts) • 4. ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) • 5. เครื่องมือและเทคนิคต่าง ๆ (Tools and Techniques) • 6. การบริหารทรัพยากรมนุษย์  (Human Resources Management) • 7.การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Research & Development)

  33. 1. ระบบการนำา (Leadership System) • ทุก ๆ องค์กรต้องมี “ทิศทาง” หรือจุดมุ่งหมายที่จะดำเนินการนอกจากนั้นยังจะต้องมี “เส้นทาง หรือแผนยุทธศาสตร์”” ที่ชี้แนะหรือชี้นำให้ทราบว่าเส้นทางที่ถูกควรจะเดินไปนั้นคือเส้นทางใด

  34. 2. วิถีธรรมแห่ง TQM (The Guiding Principles) เปรียนเสมือนหลักธรรมที่ใช้ในการบริหาร • 1. พันธสัญญาของผู้บริหารระดับสูง • 2. ระบบประเมินผล และการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ยุติธรรม • 3. ระบบการจ้างงานระยะยาว-ตลอดชีวิต • 4. ปฏิสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมงาน และผู้ประกอบการ • 5. ความใกล้ชิดกลมเกลียวระหว่างระดับบริหาร และ เพื่อนร่วมงาน • 6. ความพึงพอใจของ เพื่อนร่วมงาน

  35. 3. แนวคิดแบบ TQM (The Concepts) กลุ่มที่ 1 เกี่ยวกับวัตถุประสงค์  (Objectives) • 1. สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า • 2. มีจริยธรรม และรับผิดชอบต่อสังคม • 3. ให้การศึกษา และพัฒนาบุคลากรตลอดเวลา กลุ่มที่ 2 เกี่ยวกับวิธีคิด ( Paradigms ) • 4. ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ • 5. ให้ความสำคัญแก่กระบวนการการทำงาน • 6. กระบวนการถัดไป คือลูกค้าของเรา

  36. 3. แนวคิดแบบ TQM (The Concepts) กลุ่มที่ 3 เกี่ยวกับวิธีการทำางาน ( Methodologies ) • 7. บริหารด้วยข้อมูลจริงในสถานที่จริง • 8. แก้ปัญหาที่สาเหตุ เน้นการป้องกันการเกิดปัญหาซ้ำ • 9. ใช้กรรมวิธีทางสถิติ • 10. จัดลำดับความสำคัญ • 11. ดำเนินการบริหารแบบ PDCA • 12. สร้างระบบมาตรฐานที่มีการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

  37. 4. ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) ระบบบริหารจัดการคุณภาพ คือ พลังที่จะขับเคลื่อนจรวด TQM ของเราให้ออกไปข้างหน้า (เปรียบเสมือนเรื่องยนต์กลไกลด้านขวา) ประกอบด้วย • 1. การบริหารเข็มมุ่ง • 2. การบริหารคล่อมสายงาน • 3. การบริหารงานประจำวัน • 4. การบริหารกลยุทธ์ • 5. การตรวจวินิจฉัยโดยผู้นำ

  38. 5. เครื่องมือและเทคนิคต่าง ๆ (Tools and Techniques) • 1. เครื่องมือเดิมบริหารคุณภาพ 7 อย่าง ( 7QC Tools ) • 2. เครื่องมือใหม่บริหารคุณภาพ 7 อย่าง (7 New QC Tools หรือ 7 QM ) • 3. Six Sigma , SQC , IE , QFD , FMEA Multi Variable Analysis , Etc

  39. 6. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Management) การให้ความสำคัญแก่บุคลากร และพัฒนาบุคลากรตลอดเวลาโดยถือว่าคนเป็นหัวใจสำคัญของระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร • Plan - 1) การวางแผนและการออกแบบระบบงานให้มีสมรรถภาพสูง (Job Design & Planning ) • Do - 1) การรับสมัคร (Recruitment) • Do - 2) การกำหนดภาระหน้าที่งาน ( Job Assignment) • Do - 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HR Development)

  40. 6. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Management) • Check - 1) การประเมินผล (Evaluation) • Check - 2) การประเมินความพึงพอใจของพนักงาน(Employee Well-Being Evaluation) • Act – 1 ) การให้ผลตอบแทนแก่พนักงงาน (Reward) • Act - 2) การทบทวนและปรับปรุง (Review & Improvement)

  41. 7. การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี(Technology Research & Development) • - เทคโนโลยี คือการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการปฏิบัติทั้ง ในการผลิตสินค้าและการใช้ชีวิตประจำวันของมนุษย์ • - การวิจัย คือการค้นคว้าหาความรู้ข้อมูลใหม่ ๆ ซึ่งโดยทั่วไปของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ จะดำเนินการในห้องทดลองเพื่อทดสอบ สมมติฐานภายใต้สภาพแวดล้อมอันจำกัด

  42. ระบบการบริหาร-จัดการของ TQM • 1. การบริหารเข็มมุ่ง (Hoshin Management ) • 2. การบริหารคล่อมสายงาน (Cross Functional Management ) • 3. การบริหารงานประจำวัน (Daily Management ) • 4. การบริหารกลยุทธ์ (Strategic Management ) • 5. การตรวจวินิจฉัยโดยผู้นำ ( Leadership Diagnosis )

  43. TQM Knowledge Overview

  44. TQM & TQAข้อเหมือนและข้อแตกต่าง

More Related