1 / 62

พันธุศาสตร์ ( Genetic )

พันธุศาสตร์ ( Genetic ). ครูจุมพล คำ รอต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา โรงเรียนศรียานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี. เกรเกอร์ เมน เดล “บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์”. สาเหตุที่ “เมน เดล ” เลือกทดลองกับต้นถั่วลันเตา. 1. อายุสั้น , ปลูกง่าย , เจริญเติบโตเร็ว , มีหลายพันธุ์.

Download Presentation

พันธุศาสตร์ ( Genetic )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พันธุศาสตร์ (Genetic) ครูจุมพล คำรอต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา โรงเรียนศรียานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี

  2. เกรเกอร์ เมนเดล “บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์”

  3. สาเหตุที่ “เมนเดล” เลือกทดลองกับต้นถั่วลันเตา 1.อายุสั้น , ปลูกง่าย , เจริญเติบโตเร็ว , มีหลายพันธุ์ 2.มีลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน 3.เป็นดอกสมบูรณ์เพศ(perfect flower) 4.สามารถควบคุมการผสมให้เป็นแบบ self-pollination หรือ cross-pollination ได้

  4. เมนเดล สรุปว่า ลักษณะต่างๆของถั่วลันเตาถูกควบคุมด้วย “แฟคเตอร์”(factor)ซึ่งจะอยู่เป็นคู่ ลักษณะที่แสดงออกในรุ่น F1 จะเป็น “ลักษณะเด่น”(dominant trait) ลักษณะที่ไม่แสดงออกในรุ่น F1 จะเป็น “ลักษณะด้อย”(recessive trait) วิดีโอ

  5. ต่อมาเปลี่ยนคำว่า “แฟคเตอร์” เป็นคำว่า “ยีน”(gene) ยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น เรียกว่า “ยีนเด่น”(dominant gene) เขียนแทนด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น G แทนยีนที่ควบคุมฝักสีเขียว ยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย เรียกว่า “ยีนด้อย”(recessive gene) เขียนแทนด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น g แทนยีนที่ควบคุมฝักสีเหลือง

  6. “เด่น” ข่ม “ด้อย”

  7. การควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึ่งมักมียีนควบคุมเป็นคู่ ซึ่งอยู่ตำแหน่งเดียวกันบนโครโมโซม เรียกว่า “ฮอมอโลกัสโครโมโซม”(homologous chromosome)

  8. จีโนไทป์(Genotype) และฟีโนไทป์(Phynotype)

  9. ฮอมอไซกัส(Homozygous)

  10. ฮอมอไซกัส โดมิแนนท์(Homozygousdominant)

  11. ฮอมอไซกัส รีเซสสีพ(Homozygousrecessive)

  12. เฮเทอโรไซกัส(Homozygous)

  13. การอธิบายอัตราส่วนฟีโนไทป์ในรุ่น F2 ของถั่วลันเตา (3:1) อธิบายโดยใช้ กฎของเมนเดล2 ข้อ กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยก (Law of segregation) กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ(Law of indepentassortment)

  14. กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยก (Law of segregation) ยีนที่อยู่เป็นคู่จะแยกออกจากกันในระหว่างการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์ จะได้รับเพียงแอลลีลใดแอลลีลหนึ่ง

  15. กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment) ยีนที่เป็นคู่กัน เมื่อแยกออกจากกันแล้ว จะจัดกลุ่มอย่างอิสระกับยีนอื่นซึ่งแยกออกจากคู่เช่นกันเพื่อเข้าไปยังเซลล์สืบพันธุ์

  16. จากตาราง ใช้กฎข้อที่ 2 ของเมนเดลทำนายอัตราส่วนของเซลล์สืบพันธุ์ที่มีกลุ่มของยีนต่างๆได้ เช่น จีโนไทป์ GgYy จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 4 ชนิด คือ GY , Gy, gY และ gy ในอัตราส่วน 1:1:1:1 เมื่อเซลล์สืบพันธุ์ 4 ชนิดของทั้งพ่อและแม่มารวมกัน รุ่น F2 จึงมีฟีโนไทป์ในอัตราส่วน 9:3:3:1

  17. 1 ) ในการผสมถั่ว 2 ชนิด คือ ถั่วพันธุ์สูง ซึ่งเป็น dominant กับถั่วพันธุ์เตี้ย ซึ่งเป็น recessive ปรากฏว่าได้รุ่นลูก F1 เป็นสูง:เตี้ย = 1:1 genotype ของถั่วรุ่นพ่อแม่คือ 1.TT x tt 2.Tt x Tt 3.Tt x tt 4.TTx Tt

  18. 2 ) TTBbCcมี gamete กี่ชนิด 1.4 ชนิด 2.6 ชนิด 3.8 ชนิด 4.10 ชนิด

  19. 3 ) ในการผสมถั่วเมล็ดเรียบสีเหลืองพันธุ์แท้กับถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียวพันธุ์แท้ (สีเหลืองและเมล็ดเรียบ เป็น dominant) ได้รุ่นลูก F1 มี genotype 1.YYRR 2.YyRR 3.Yyrr 4.YyRr

  20. 4 ) จากข้อ 3. phenotype ของรุ่นลูก F1 คือ 1.เมล็ดเรียบสีเขียว 2.เมล็ดเรียบสีเหลือง 3.เมล็ดขรุขระสีเหลือง 4.เมล็ดขรุขระสีเขียว

  21. 5 ) จากข้อ 4. ถ้านำรุ่นลูก F1 ทำ test cross จะได้อัตราส่วน phenotype ของลูกเท่าไร 1.เมล็ดเรียบสีเหลือง : เมล็ดเรียบสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว = 1:2:2:1 2.เมล็ดเรียบสีเหลือง : เมล็ดเรียบสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว = 1:1:1:1 3.เมล็ดเรียบสีเหลือง : เมล็ดเรียบสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว = 1:1:2:2 4.เมล็ดเรียบสีเหลือง : เมล็ดเรียบสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว = 2:1:1:2

  22. 6 ) ในการผสมต้นไม้ดอกสีแดง กับต้นไม้ดอกสีขาวปรากฏว่าได้ลูกเป็นดอกสีขมพูหมดแสดงว่า 1.การผสมนี้เป็น co-dominant 2.การผสมนี้เป็น complete dominant 3.การผสมนี้เป็น Incomplete dominant 4.การผสมนี้เป็น no dominant

  23. 7 ) พันทางตรงกับภาษาพันธุศาสตร์ว่า 1.genotype 2.Phenotype 3.Homozygote 4.heterozygote

  24. 8 ) ในการผสมแบบ test cross พ่อหรือแม่ต้องมี genotype เป็น 1.RRTT 2.Rrtt 3.RrTt 4.rrTT

  25. 9 ) ข้อใดเป็น homozygous ทั้งหมด 1.TTYy 2.TTRR 3.ttYy 4.ttRr

  26. 10 ) DNA นอกจากจะพบในนิวเคลียสแล้วยังพบได้ใน 1.mitochondria และ endoplasmic reticulum 2.mitochondria และ chloroplast 3.chloroplast และ endoplasmic reticulum 4.endoplasmic reticulum และ ribosome

  27. โจทย์ กระต่ายขนสีดำเป็นลักษณะเด่น(B) ขนสีน้ำตาลเป็นลักษณะด้อย (b) และขนสั้นเป็นลักษณะเด่น (S) ขนยาวเป็นลักษณะด้อย (s) ในการผสมระหว่างกระต่ายฮอมอไซกัสขนยาวสีดำ และฮอมอไซกัสขนสั้นสีน้ำตาล 3.1 • จงหาอัตราส่วนของฟีโนไทป์ต่างๆ ในรุ่นF1 และอัตราส่วนของ • ฟีโนไทป์ต่างๆ ในรุ่น F2

  28. การผสมเพื่อทดสอบ (test cross) การนำสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเด่น ไปผสมพันธุ์กับสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะด้อย ถ้ารุ่นลูกมีลักษณะเด่นทั้งหมด แสดงว่าสิ่งมีชีวิตนั้นเป็น “ฮอมอไซกัส” แต่ถ้ารุ่นลูกมีลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย เท่ากับ 1:1 แสดงว่าสิ่งมีชีวิตนั้นเป็น “เฮเทอโรไซกัส”

  29. ลักษณะที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดลลักษณะที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล การข่มไม่สมบูรณ์ หรือ เด่นไม่สมบูรณ์(incomplete dominance) ดอกลิ้นมังกร

  30. ลักษณะที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดลลักษณะที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล การข่มร่วมกันหรือ เด่นร่วมกัน(co-dominance)

  31. มัลติเปิลแอลลีล(multiple allele) ยีนที่มีมากกว่า 2แอลลีล ใน 1โลคัส เช่น หมู่เลือด ABO ประกอบด้วย แอลลีลIA , IB , i

  32. พอลียีน(polygene) ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่(พอลียีน) เป็นลักษณะที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยและลดหลั่นกันไป ฟีโนไทป์จึงมีการกระจายอย่างต่อเนื่องหรือกระจายแบบโค้งปกติ

  33. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง(continuous variation) และ ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง(discontinuous variation)

  34. วิดีโอ

  35. วิดีโอ

  36. ยีนบนโครโมโซมเพศ

  37. Sex-linked gene

More Related