1 / 40

ผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ

ผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. The Effect of e-Training with MIAP learning process to Develop Job Competencies for Instructor

ilori
Download Presentation

ผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ The Effect of e-Training with MIAP learning process to Develop Job Competencies for Instructor and Supporting Staff of KMUTNB

  2. คณะผู้วิจัย • อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ • รองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการเรียนการสอนออนไลน์ • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข • ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  3. กรอบแนวคิดการวิจัย เว็บฝึกอบรม(Horton, 2000; Driscoll, 2005) สมรรถนะวิชาชีพ (Mitrani, Dalziel and Fitt,1992;Spencer and Spencer, 1993) การออกแบบเว็บฝึกอบรม รูปแบบของเว็บฝึกอบรม องค์ประกอบของเว็บฝึกอบรม วิธีการใช้เว็บฝึกอบรม สมรรถนะวิชาชีพสายวิชาการ สมรรถนะวิชาชีพสายสนับสนุนวิชาการ รูปแบบการฝึกอบรมบนเว็บ (Horton, 2000; Driscoll, 2005) การเรียนการสอนรูปแบบ MIAP (สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์, ๒๕๒๗) องค์ประกอบรูปแบบ ขั้นตอนการฝึกอบรมบนเว็บ การวัดและประเมินผล ขั้นสนใจปัญหา(Motivation) ขั้นศึกษาข้อมูล(Information) ขั้นพยายาม(Application) ขั้นสำเร็จผล(Progress) การฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการมจพ.

  4. วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อพัฒนาเว็บฝึกอบรมด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAPเพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ • เพื่อศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAPเพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ

  5. สมมติฐานการวิจัย • พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการมีผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ • พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการมีผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

  6. ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ขอบเขตการวิจัย พนักงานมหาวิทยาลัย มจพ. สายวิชาการ(๙๔ คน) สายสนับสนุนวิชาการ (๖๐ คน) สายวิชาการ(๔๐ คน) สายสนับสนุนวิชาการ (๔๐ คน) WBT สายวิชาการ WBT สายสนับสนุนวิชาการ

  7. ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรอิสระ • เว็บฝึกอบรมด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรม ความพึงพอใจ

  8. วิธีดำเนินการวิจัย

  9. วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ ๑พัฒนากรอบแนวคิดของเว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ระยะที่ ๒พัฒนาเว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้ แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ

  10. ระยะที่ ๑ พัฒนากรอบแนวคิดของเว็บฝึกอบรมสมรรถนะ วิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP สังเคราะห์เอกสารและงานวิจัย สัมภาษณ์เชิงลึก พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ • การจัดการความรู้สมรรถนะวิชาชีพที่พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการต้องการรู้” ประชุมระดมสมอง บุคลากรกองบริการและจัดการฯHR • การจัดการความรู้สมรรถนะวิชาชีพที่พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการจำเป็นต้องรู้ สรุปกรอบแนวคิด กรอบแนวคิด WBT, e-Training

  11. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ การประเมินผล เว็บฝึกอบรมด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ

  12. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • วิเคราะห์ความต้องการ(Need analysis) • วิเคราะห์ผู้เรียน(Learner analysis)คุณลักษณะและรูปแบบการเรียนรู้ • วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) • วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม (Context analysis) หน้า ‹#›‹#›

  13. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • จุดประสงค์การฝึกอบรม • โครงข่ายเนื้อหา โมดูลของเนื้อหา • ออกแบบสตอรี่บอร์ด • ยุทธศาสตร์การฝึกอบรม • ขั้นสนใจปัญหา (Motivation) • ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) • ขั้นพยายาม (Application) • ขั้นสำเร็จผล (Progress)

  14. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • ระบบบริหารจัดการฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP • คู่มือผู้ดูแลระบบ ผู้อบรม • แบบวัดผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ หน้า ‹#›‹#›

  15. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • การฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพฝึกอบรมด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP On line: LMS F2F classroom Content System Ma. MIAP Communication • Motivation • Information • Application • Progress • Synchronous • Asynchronous • Module 1 • … • Module 5

  16. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • การทดสอบหนึ่งต่อหนึ่ง • การทดสอบกับกลุ่มเล็ก • การทดสอบนำร่อง • แบบทดสอบ สายวิชาการR = 0.75, P = 0.36-0.72 • แบบทดสอบ สายสนับสนุนR = 0.86, P = 0.45-0.75

  17. ระยะที่ ๒ การพัฒนาเว็บฝึกอบรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ การประเมินผล • การประเมินเพื่อพัฒนา • ประเมินคุณภาพสื่อด้านเนื้อหา (Content) • ประเมินคุณภาพสื่อด้านการออกแบบการฝึกอบรม (Instructional Design) • ประเมินคุณภาพสื่อด้านระบบบริหารจัดการฝึกอบรม (LMS)

  18. ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP • One Group Pretest – Posttest Design (William & Stephen, 2009) O1 X O2 • Experimental Research Design

  19. ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกอบรม • ความพร้อม สถานที่ แผนการจัดการฝึกอบรม ระบบบริหารจัดการเว็บฝึกอบรม คู่มือ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล • ชี้แจงวัตถุประสงค์การฝึกอบรม ขั้นตอน/กิจกรรมการฝึกอบรม การวัดและประเมินผล • ฝึกปฏิบัติการใช้ระบบบริหารจัดการเว็บฝึกอบรม วัดและประเมินผลการฝึกอบรมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  20. ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกอบรม วัดและประเมินผลการฝึกอบรมก่อนเรียน • ชี้แจงขั้นตอนวิธีการวัดฯ • วัดและประเมินผลสมรรถนะวิชาชีพ • แจ้งผลสมรรถนะวิชาชีพก่อนอบรม ดำเนินการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  21. ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกอบรม วัดและประเมินผลการฝึกอบรมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง • พนักงานมหาวิทยาลัย มจพ. • สายวิชาการ ๔๐ คน • สายสนับสนุนวิชาการ ๔๐ คน วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  22. ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกอบรม วัดและประเมินผลการฝึกอบรมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน • ชี้แจงขั้นตอนวิธีการวัดฯ • วัดและประเมินผลสมรรถนะวิชาชีพ • แจ้งผลสมรรถนะวิชาชีพหลังอบรม สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  23. ระยะที่ ๓ การศึกษาผลการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกอบรม วัดและประเมินผลการฝึกอบรมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน • ความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  24. สรุปผลการวิจัย

  25. รูปแบบการฝึกอบรมบนเว็บรูปแบบการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP

  26. รูปแบบการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP e-Training with MIAP Model สมรรถนะวิชาชีพสายวิชาการ สมรรถนะวิชาชีพสายสนับสนุน วิชาการ หลักการ วัตถุประสงค์ การวัดและประเมินผล การฝึกอบรมบนเว็บ กระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP สมรรถนะวิชาชีพ ปัจจัยที่สนับสนุนการอบรม วิธีการ กิจกรรมฝึกอบรม พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพสายวิชาการ พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ สายสนับสนุนวิชาการ ก่อนการฝึกอบรม การฝึกอบรม สรุปผลการฝึกอบรม

  27. กิจกรรมการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ขั้นเตรียมการก่อนการฝึกอบรม การวางแผนและกำหนดทิศทางการฝึกอบรม การสร้างแรงจูงใจในการฝึกอบรม การสนับสนุนแหล่งความรู้ ขั้นการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ขั้นสรุปผลการฝึกอบรม

  28. กิจกรรมการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ขั้นเตรียมการก่อนการฝึกอบรม Self pace e-Training LMS: Online content Motivation F2F Training ขั้นการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP Live e-Training, e-Brainstorming LMS: small group chat room,Web board Information Live e-Training, e-Brainstorming LMS: small group chat room, Web board, Online question Application ขั้นสรุปผลการฝึกอบรม F2F Training : Classroom discussion, Oral presentation Live e- Training, e-Brainstorming LMS: Small group chat room, Web board Progress

  29. กิจกรรมการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ขั้นเตรียมการก่อนการฝึกอบรม ขั้นการฝึกอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP วัดและประเมินผลสมรรถนะวิชาชีพ ไม่ผ่าน ขั้นสรุปผลการฝึกอบรม ประเมินผลสมถนะ ทบทวน Online: LMS ผ่าน ศึกษาเนื้อหาหน่วยถัดไป

  30. เว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพเว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP

  31. เว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP

  32. เว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP

  33. ผลการประเมินคุณภาพเว็บฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP

  34. ผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ **p > .01

  35. ผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ **p > .01

  36. ผลการประเมินความพึงพอใจผลการประเมินความพึงพอใจ • X = 4.56, S.D. = 0.57 • พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP อยู่ในระดับมากที่สุด

  37. อภิปราย

  38. การจัดการเรียนรู้ MIAP • สมรรถนะวิชาชีพ • ผลสัมฤทธิ์สมรรถนะวิชาชีพ • ความพึงพอใจมาก ชะลอ พลนิล (2551) อัครวุฒิ จินดานุรักษ์ (2553) Piriyasurawong and Nilsook (2010)

  39. คำถาม

  40. อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ • รองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการเรียนการสอนออนไลน์ • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข • ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

More Related