1 / 19

Combination Logic Circuits

Combination Logic Circuits. รูปแบบของวงจรลอจิก. วงจร logic แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. วงจร combination เป็นวงจรที่สัญญาณออก (output) ขึ้นอยู่กับสัญญาณเข้า (input) ณ เวลานั้นๆ 2. วงจร sequential เป็นวงจรที่สัญญาณออกขึ้นอยู่กับ - สัญญาณเข้า ณ เวลานั้นๆ และ

haruko
Download Presentation

Combination Logic Circuits

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Combination Logic Circuits

  2. รูปแบบของวงจรลอจิก วงจร logic แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. วงจร combination เป็นวงจรที่สัญญาณออก (output) ขึ้นอยู่กับสัญญาณเข้า (input) ณ เวลานั้นๆ 2. วงจร sequential เป็นวงจรที่สัญญาณออกขึ้นอยู่กับ - สัญญาณเข้า ณ เวลานั้นๆ และ - สถานะของวงจรในขณะนั้น (หรือสัญญาณเข้าก่อนหน้า)

  3. วงจร combination วงจรคอมบิเนชัน (Combination circuits) บางครั้งจะเรียกว่า วงจรเชิงจัดหมู่ เป็นวงจรที่ประกอบขึ้นด้วยลอจิกเกตต่าง ๆ การสร้างวงจรก็คือ การนำเอาเกตต่าง ๆ มาต่อกันเป็นวงจรเพื่อให้วงจรสามารถทำงานได้ตามที่เราต้องการ การทำงานจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเกตและสัญญาณอินพุทที่ป้อนเข้า โดยแสดงออกทางเอาท์พุตของวงจร

  4. วงจร combination โดยปกติวงจรคอมบิเนชันจะออกแบบเป็นวงจรลอจิกเฉพาะอย่าง และผลิตออกมาใช้งานเป็นวงจรสำเร็จรูปหรือไอซีระดับ SSI และ MSI • small-scale integration (SSI) <12 gates/chip (Transistor) • medium-scale integration (MSI) 12 - 99 gates/chip (Transistor) ได้แก่ วงจรมัลติเพล็กเซอร์ ดีวงจรมัลติเพล็กเซอร์ วงจรสร้างและตรวจสอบพาริตี้ วงจรถอดรหัส วงจรเข้ารหัส วงจรเปรียบเทียบ และวงจรบวก เป็นต้น แต่ถ้าต้องการวงจรคอมบิเนชันที่แตกต่างก็สามารถที่จะออกแบบได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

  5. รูปแบบของวงจร combination วงจร combination สามารถเขียนในรูปแบบต่างๆได้เป็น • AND-OR configuration ได้จากสมการรูป SOP • NAND configuration • OR-AND configuration ได้จากสมการรูป POS • NOR configuration

  6. AND-OR configuration ได้จากสมการรูป SOP ตัวอย่าง หมายเหตุ เนื่องจากไม่มีไอซี ออร์เกต ชนิด 4 อินพุต ผลิตออกมาใช้งาน

  7. NAND configuration ตัวอย่าง

  8. OR-AND configuration ได้จากสมการรูป POS ตัวอย่าง หมายเหตุ เนื่องจากไม่มีไอซี ออร์เกต ชนิด 3 อินพุต TTL

  9. NOR configuration ตัวอย่าง

  10. การออกแบบวงจรคอมบิเนชันการออกแบบวงจรคอมบิเนชัน สรุปขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการหรือปัญหาจากโจทย์ ขั้นที่ 2 สร้างตารางความจริง ขั้นที่ 3 เขียนสมการบูลลีน ขั้นที่ 4 ลดรูปสมการ ขั้นที่ 5 เขียนวงจรลอจิกและปรับปรุงวงจร ขั้นที่ 6 สร้างและทดสอบวงจร

  11. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก สมมติว่าต้องการจะสร้างวงจรควบคุมเครื่องจักรในโรงงานแห่งหนึ่ง โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ เครื่องจักรจะหยุดทำงานเมื่อตัวเซ็นเซอร์ 2 ใน 3 ตัว หรือทั้ง 3 ตัว มีค่าลอจิกเป็น HIGH ให้ออกแบบวงจรเซนเซอร์ ที่จะใช้ควบคุมเครื่องจักร

  12. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นตอนของการออกแบบวงจรมีดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการหรือปัญหาจากโจทย์ อินพุต : คือ ตัวเซ็นเซอร์ 3 ตัว กำหนดให้เป็นตัวแปร A, B และ C เอาท์พุต : กำหนดให้ค่าเอาท์พุตเป็น HIGH เครื่องจักรจะหยุดทำงาน และให้เอาท์พุตเป็นตัวแปร S เงื่อนไข : เอาท์พุตเป็น HIGH เมื่อ อินพุต 2 ใน 3 ตัว หรือ ทั้งหมดมีค่าลอจิกเป็น HIGH

  13. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 2 สร้างตารางความจริง สร้างตารางความจริงตามเงื่อนไขที่โจทย์ต้องการพร้อมทั้งกำหนดมินเทอมหรือ อาจจะกำหนดเป็นแมกซ์เทอมก็ได้ สำหรับตัวอย่างนี้จะกำหนดเป็นมินเทอม จึง จะต้องพิจารณาเอาท์พุตที่มีค่าลอจิกเป็น 1 ในตารางความจริง ดังนั้นจะได้เทอม ของการคูณ ที่ทำให้เอาท์พุต S มีค่าลอจิกเป็น 1 จำนวน 4 เทอม ดังนี้

  14. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 2 สร้างตารางความจริง

  15. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 3 เขียนสมการบูลลีน ปกติจะเขียนสมการได้ 2 รูปแบบ ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐาน คือ แบบผลบวก ของผลคูณ (SOP) หรือแบบผลคูณของผลบวก (POS) แต่ในตัวอย่างนี้จะใช้ สมการรูปแบบ SOP อย่างเดียว ดังนี้

  16. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 4 ลดรูปสมการ การลดรูปสมการเป็นการทำให้จำนวนตัวแปรในสมการลดน้อยลง เพื่อ ประหยัดเกตที่ใช้ต่อวงจร ทำให้วงจรง่าย ไม่ซับซ้อน และไม่เสียเวลาใน การสร้างวงจร

  17. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 5 เขียนวงจรลอจิกและปรับปรุงวงจร จากสมการที่ลดรูปแล้ว เป็นสมการผลบวกของผลคูณหรือ SOP ประกอบด้วย การคูณทางลอจิก (หรือ AND) 3 เทอม จะต้องใช้แอนด์เกต 2 อินพุต 3 ตัวและ นำผลคูณทั้ง 3 มาบวกกันทางลอจิก (หรือ OR) จะต้องใช้ออร์เกต 3 อินพุต1 ตัว s

  18. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 5 เขียนวงจรลอจิกและปรับปรุงวงจร การปรับปรุงวงจรเป็นการทำให้วงจรดูง่าย หาเกตต่าง ๆ ได้ง่าย จากตัวอย่าง วงจรที่ผ่านมา ไอซีทีทีแอล ออร์เกต ชนิด 3 อินพุต ไม่สามารถหาไอซีชนิด นี้ได้นอกจากจะดัดแปลงจาก ออร์เกต 2 อินพุต ดังนั้นจึงปรับปรุงวงจรจาก วงจร AND – OR เป็นวงจร NAND – NAND S

  19. ตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิกตัวอย่างการออกแบบวงจรลอจิก ขั้นที่ 6 การสร้างและทดสอบวงจร เป็นการสร้างวงจรตามวงจรที่ได้ออกแบบไว้พร้อมทั้งทดสอบเงื่อนไขต่าง ๆ ตามตารางความจริงทุกเงื่อนไข ว่าถูกต้อง จึงจะนำไปใช้งานจริง

More Related