1 / 12

บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง SSC281 : Economics 1/2552

บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง SSC281 : Economics 1/2552. รายได้ประชาชาติดุลยภาพ รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม

giselle
Download Presentation

บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง SSC281 : Economics 1/2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงSSC281 : Economics1/2552 ศศิธร สุวรรณเทพ

  2. รายได้ประชาชาติดุลยภาพรายได้ประชาชาติดุลยภาพ • รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม • แนวทางการวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพแบ่งได้ 2 แนวทาง • แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม • แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด ศศิธร สุวรรณเทพ

  3. แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม(AD = AS) • อุปสงค์รวมประกอบด้วย C+ I + G + ( X - M ) = AD • อุปทานรวม (AS) คือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Y) • ดังนั้น รายได้ประชาชาติอยู่ในดุลยภาพเมื่อ อุปสงค์รวม = อุปทานรวม C + I + G + ( X - M ) = Y ศศิธร สุวรรณเทพ

  4. การวิเคราะห์จากกราฟ AD, AS AS = Y AD<Y AD = C+I+G+(X-M) E ADE AD>Y 45 • Y 0 YE Y2 Y1 ศศิธร สุวรรณเทพ

  5. แนวทางส่วนรั่วไหล (Leakage) เท่ากับส่วนอัดฉีด (Injection) • ส่วนรั่วไหลคือส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เมื่อตัวแปร ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M • ส่วนอัดฉีดคือส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัวแปร ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วยรายจ่ายอิสระ Ia , G , X • รายได้ประชาชาติจะอยู่ในระดับดุลยภาพเมื่อ S + T + M = Ia + G + X สมมติให้ Ia: เป็นการลงทุนอิสระ ศศิธร สุวรรณเทพ

  6. การวิเคราะห์จากกราฟ S+T+M=I+G+X S + T + M E I+G+X Ia 0 Y Ye ศศิธร สุวรรณเทพ

  7. การเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพ • รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลง เมื่อตัวกำหนดรายได้ • เปลี่ยนแปลง ซึ่งตัวกำหนดรายได้ดุลยภาพคือ อุปสงค์รวมและอุปทานรวม • เปลี่ยนแปลง เช่น • การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ C, I , G , ( X - M ) ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยน หรือ • ทุกตัวเปลี่ยนพร้อมกัน จะทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย • หรือ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนรั่วไหล (S,T,M) และส่วนอัดฉีด (I,G,X) ศศิธร สุวรรณเทพ

  8. การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้น S+T+M=I+G+X AD AS = Y S+T+M AD2 I+G’+X AD1 เมื่อ G I+G+X เมื่อ G 0 Y Y1 Y2 45 • Y 0 Y2 Y1 ศศิธร สุวรรณเทพ

  9. ตัวทวี ( multiplier ) • คือค่าที่เป็นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายจ่ายอิสระ • แล้ว ระดับรายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใดของ รายจ่าย • อิสระ เช่น ถ้าการลงทุนอิสระเพิ่มขึ้น • Y = k Ia • เมื่อ Y: การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ • Ia: การเปลี่ยนแปลงของการลงทุนอิสระ • k : ตัวทวี ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 / 1 - MPC = 1 / MPS ศศิธร สุวรรณเทพ

  10. ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด • รายได้ประชาชาติดุลยภาพที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง อาจจะมี ค่าไม่เท่ากับรายได้ประชาชาติ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (full employment income หรือ potential income ) เมื่อไม่เท่ากันส่วนต่างดังกล่าวเรียกว่า ช่วงห่างรายได้ ( income gap ) ซึ่งมี 2 ชนิดคือ • ช่วงห่างการเฟ้อ • ช่วงห่างการฝืด ศศิธร สุวรรณเทพ

  11. ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด • ช่วงห่างการเฟ้อ ( Inflationary gap ) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่ามากกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ • ช่วงห่างการฝืด ( Deflationary gap ) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่าต่ำกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ ศศิธร สุวรรณเทพ

  12. การพิจารณาช่วงห่างการเฟ้อและช่วงห่างการฝืดจากกราฟ AD , AS AS = Y ช่วงห่างการเฟ้อ AD2 E2 A ADF Ef AD1 E1 ช่วงห่างการฝืด F : ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) 45 o Y 0 Y1 YF Y2 ศศิธร สุวรรณเทพ

More Related