1 / 46

น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553

น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553. ระบบสารสนเทศ กับการบริหารยา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช. ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช . โรงพยาบาลหลักของกองทัพอากาศ จำนวนเตียงที่ให้บริการทั้งสิ้น 770 เตียง จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอก 672,800 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552 )

fabian
Download Presentation

น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์7กรกฎาคม 2553 ระบบสารสนเทศ กับการบริหารยา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช

  2. ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช • โรงพยาบาลหลักของกองทัพอากาศ • จำนวนเตียงที่ให้บริการทั้งสิ้น 770 เตียง • จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอก 672,800 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552) • จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยใน 24,165 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552) • กำลังพล • แพทย์ 400 คน • พยาบาล 776 คน

  3. วิสัยทัศน์ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดชวิสัยทัศน์ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดช Digital Hospital In the Year 2554 (2551 – 2554)

  4. Digital Hospitalรพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. • โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ทดแทน มูลค่า 75 ล้านบาท • ต.ค. 2549 ถึง ก.ย. 2551 • เริ่มใช้ ม.ค. 2551 เต็มระบบ ก.ค. 2551 • ปรับปรุงระบบบริหารจัดการของ รพ.ใหม่ทั้งระบบโดยใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือสำคัญ • เน้นการพัฒนาบุคลากรของรพ.ให้มีส่วนร่วมมากที่สุด

  5. Digital Hospitalรพ.ภูมิพลอดุลยเดช • ข้อมูลทั้งหมดอยู่ในรูปแบบดิจิตอล • เน้นการใช้งานในทุกระดับ • อบรมแพทย์ 420 คน (95 %) • อบรมพยาบาล 700 คน • อบรมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการรักษา 1,000 คน

  6. เวชระเบียน ตรวจสอบสิทธิ

  7. ห้องตรวจโรค

  8. ห้องตรวจโรค (แพทย์) • บันทึกประวัติ ตรวจร่างกาย • วินิจฉัยโรค (ICD9 ICD10) • สั่งยา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เอกซเรย์ • นัดผู้ป่วย

  9. ประวัติการใช้ยาย้อนหลังประวัติการใช้ยาย้อนหลัง

  10. Electronic OPD card

  11. กราฟแสดงระดับน้ำตาล

  12. ใบแนะนำการตรวจรักษา ใช้แทนใบสั่งยา ใบสั่งตรวจ การรักษาต่าง ๆ และคำแนะนำผู้ป่วย

  13. ห้องจ่ายยา

  14. เปรียบเทียบระยะเวลารอคอยรับยาก่อนและหลังใช้ระบบเปรียบเทียบระยะเวลารอคอยรับยาก่อนและหลังใช้ระบบ นาที ลดลง 24 % ลดลง 37.2 % ลดลง 30.9 % ลดลง 47.2 % ลดลง 15.9 % ลดลง 16 % ลดลง 24.7% ลดลง 35.8 %

  15. ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล • สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก • ปีงบประมาณ 2548 จำนวน 3 หมื่นล้านบาท เพิ่มเป็น 8 หมื่นล้านบาทในปีนี้ • นโยบายใช้จ่ายอย่างประหยัดและคุ้มค่าโดยเฉพาะการใช้ยาในผู้ป่วยนอก

  16. นโยบายด้านการบริหารยานโยบายด้านการบริหารยา • คณะกรรมการยาของรพ.ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและตรวจสอบการใช้ยาของแพทย์ ร่วมกับองค์กรแพทย์ • แพทย์รับผิดชอบในการสั่งยาทุกกรณี เภสัชกรไม่สามารถเพีมจำนวนยาในใบสั่งยาแพทย์ได้ • แบ่งกลุ่มแพทย์ที่สามารถสั่งยาในกลุ่มควบคุมต่างๆ • กำหนด max dose, ระยะเวลา

  17. หลักการ • แพทย์ที่ไม่มีสิทธิสั่งยาสามารถ remed ยาเดิมของผู้ป่วยได้ แต่ไม่มีสิทธิสั่งยาใหม่ (Authorization) แต่ไม่เกิน 6 เดือน • ยาบางกลุ่มจะถูก lock ให้ต้องสั่งใหม่ทุกครั้ง ไม่สามารถใช้คำสั่ง remed โดยแพทย์ผู้อื่นได้ • มีการบันทึก DUE, SMP,Non ED แบบ electronics

  18. การประเมินการใช้ยา Drug Utilization evaluation

  19. ความเป็นมา • เริ่มทำปี 2545 • พัฒนาการทำ DUE ปี 2550 • ระบบสารสนเทศ 2551

  20. DUE ปี 2545 - 2550 • HA กับงานคุณภาพ : มาตรฐานที่ 3 ของเภสัชกรรม • DUE : Statin, Carbapenam, Vancomycin • เป็นระบบ manual ต้องทำทุกครั้ง • ปัญหา • การไม่ยอมรับในการทำงาน เพิ่มภาระงาน • ความถูกต้อง • การประเมินผล Manual

  21. DUE ปี 2550 • เพิ่ม DUE ในกลุ่ม Statin, Clopidogrel, Thiazolidinedione, Gabapentin • จัดทำแบบฟอร์ม ให้สะดวกในการกรอกข้อมูล และประเมินผล

  22. DUE ปี 2551 - ปัจจุบัน • ใช้ระบบสารสนเทศ • แพทย์เป็นผู้บันทึกใบสั่งยาด้วยตัวเอง ยกเลิกใบสั่งยาผู้ป่วยนอก • การบันทึกข้อมูล DUE, SMP, Non ED indication โดยระบบสารสนเทศ • ใช้ระบบสารสนเทศช่วยในการประเมินผลและ feedback

  23. การประเมินการใช้ยาและเหตุผลการสั่งใช้DUEการประเมินการใช้ยาและเหตุผลการสั่งใช้DUE

  24. เหตุผลประกอบการสั่งใช้ PPI

  25. เหตุผลประกอบการสั่งใช้ COX II

  26. การควบคุมการใช้ยา ก่อน หลัง บาท

  27. การประเมินผล • สามารถเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนมากขึ้น • การตรวจสอบเบื้องต้นผ่าน electronic OPD และรายงานต่างๆ • ทราบแนวทางการใช้ยาของแพทย์แต่ละท่าน • สรุปประเด็น นำเสนอคณก.บริหารและนำไปสู่การแก้ไขร่วมกับองค์กรแพทย์

  28. การประเมินผล • มีระบบรายงานจากสารสนเทศ • รายงานปริมาณยาที่สั่งมากเกินกำหนดในช่วงเวลาที่กำหนด • รายงานผลการทำ DUE ในแต่ละกลุ่ม แยกตามข้อบ่งชี้ แพทย์ และผู้ป่วย • รายงานการใช้ยา 20 อันดับแรกของรพ. • รายงานแพทย์ 50 ท่านแรกที่สั่งยาสูงสุดตามมูลค่า • ฯลฯ

  29. โครงการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศ ๒๗ คลินิก • เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยประกันสุขภาพระหว่างคลินิกชุมชนอบอุ่น 27 คลินิกกับรพ.ภูมิพลอดุลยเดชในแบบ Real Time • ฐานข้อมูลสุขภาพประชากรบัตรทองใน 5 เขตจำนวน 200,000 คน • งบประมาณ สปสช • ระยะเวลาโครงการ ต.ค. 52 ถึง ก.ย. 53

  30. โครงการเชื่อมข้อมูลสารสนเทศ 27 คลินิก

  31. ภาพการทำงานฝั่งคลินิกภาพการทำงานฝั่งคลินิก

  32. ภาพการทำงานฝั่งโรงพยาบาล

  33. เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศเครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ • เชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลแบบ real time ระหว่าง รพ.ภูมิพลอดุลยเดชและ รพ.กองบิน รวมถึงกองเวชศาสตร์ป้องกัน • แพทย์ที่ให้บริการสามารถตรวจสอบข้อมูลการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยที่ไปใช้บริการได้ตลอดเวลา • มีฐานข้อมูลรวมของกองทัพอากาศเกี่ยวกับสุขภาพของข้าราชการและครอบครัว • เริ่มโครงการ 2555

  34. เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศเครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ รพ.กองบิน สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองเวชศาสตร์ป้องกัน รพ.จันทรุเบกษา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช

  35. สรุป • ระบบสารสนเทศเป็นเพียงเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ • นโยบายของกรมบัญชีกลาง และผู้บริหารระดับสูงและความร่วมมือของแพทย์มีส่วนสำคัญที่สุดที่จะทำให้การควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศประสบความสำเร็จ

More Related