1 / 16

การนำเสนอผลการดำเนินงาน และแผนการพัฒนาคุณภาพ สถาบันธัญญารักษ์ 30 มกราคม 2549

การนำเสนอผลการดำเนินงาน และแผนการพัฒนาคุณภาพ สถาบันธัญญารักษ์ 30 มกราคม 2549. พันธกิจ. 1. ประสานและส่งเสริมกระบวนการพัฒนาคุณภาพในสถาบันธัญญารักษ์อย่างเป็นระบบ (ทั้งระดับหน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน) 2. ส่งเสริมให้มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ใน สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด. เป้าหมาย.

Download Presentation

การนำเสนอผลการดำเนินงาน และแผนการพัฒนาคุณภาพ สถาบันธัญญารักษ์ 30 มกราคม 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนอผลการดำเนินงานและแผนการพัฒนาคุณภาพสถาบันธัญญารักษ์30 มกราคม 2549

  2. พันธกิจ 1. ประสานและส่งเสริมกระบวนการพัฒนาคุณภาพในสถาบันธัญญารักษ์อย่างเป็นระบบ (ทั้งระดับหน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน) 2. ส่งเสริมให้มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ใน สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด

  3. เป้าหมาย สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดมีกระบวนการบำบัดฟื้นฟูที่ได้มาตรฐาน และมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานและทีมคร่อมสายงานมีกระบวนการ พัฒนาคุณภาพที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างต่อเนื่อง

  4. เป้าหมายที่ 1 สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด มีกระบวนการบำบัดฟื้นฟูที่ได้มาตรฐาน และมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง • เครื่องชี้วัด • ร้อยละของจังหวัดที่มีตัวแทนเข้ารับการอบรมการพัฒนาคุณภาพยาเสพติด (100%) • ร้อยละของโรงพยาบาลที่ได้รับการอบรมการพัฒนาคุณภาพยาเสพติด (96.40%)794/816 • ร้อยละของจังหวัดที่ได้รับการนิเทศติดตาม ด้านการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติด(98.68%) 75/76 • ร้อยละของโรงพยาบาลที่ได้รับการนิเทศติดตาม ด้านการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติด (96.32%)786/816 • ร้อยละของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (20.65%)38/184 • ร้อยละของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ที่ได้รับการเยี่ยมสำรวจเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพ (100%)

  5. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ • มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับสถานพยาบาล • จัดในสถาบัน • ไปนอกสถาบัน • มีการนิเทศสถานพยาบาลยาเสพติดเพื่อการพัฒนาคุณภาพ • โรงพยาบาล • ศูนย์บำบัดฯ • การฝึกอบรม เตรียมความพร้อมผู้นิเทศ 2 รุ่น • คัดเลือกสถานพยาบาลยาเสพติดที่มีความพร้อมเข้ารับการพิจารณาให้การรับรองคุณภาพ จำนวน 48

  6. แผนพัฒนาต่อเนื่อง • นำสถานพยาบาลยาเสพติดที่ได้รับการคัดเลือก เข้าพิจารณาในคณะกรรมการรับรองกระบวนการคุณภาพ • ดำเนินการนิเทศสถานพยาบาลยาเสพติดที่มีความพร้อม 10 จังหวัด • เยี่ยมสำรวจและให้คำปรึกษาศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดภูมิภาคตามแนวทางบันได 3 ขั้นสู่ HA • จัดฝึกอบรมการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติดในจังหวัดที่ต้องการการสนับสนุน

  7. เป้าหมายที่ 2 หน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างต่อเนื่อง • เครื่องชี้วัด • ร้อยละของหน่วยงานที่มีกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ (นวัตกรรม CQI การปรับปรุงขั้นตอนการทำงาน) 57.14% (28/49) • ร้อยละของทีมสหวิชาชีพที่มีการประชุมต่อเนื่อง (ระหว่างดำเนินการเก็บข้อมูล)

  8. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ก่อนSurveillance • อบรมให้ความรู้ทีม Facilitator 5 รุ่น • ประชุมทีม Facilitator เพื่อวางแผนการประสานการพัฒนาคุณภาพทั่วทั้งองค์กร • ให้ความรู้กับหน่วยงาน • อบรมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 2 รุ่น • การทำกิจกรรมทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย • การเตรียมความพร้อมรับการเยี่ยมสำรวจ • ผ่านการให้คำปรึกษาโดย Facilitator ประจำหน่วยงาน

  9. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ก่อนSurveillance • ส่งเสริมการดำเนินงานของทีมสหวิชาชีพ (โดยทีม Facilitator ประจำทีมสหวิชาชีพ ) • ส่งเสริมการทำ RCA • Dead case • ฟิลม์ผิดคน • ผู้ป่วยหลบหนีและทำร้ายร่างกาย • ผู้ป่วยแพ้ยา Bactrim • ปรับปรุงระบบรายงานความเสี่ยง • ประสานและส่งเสริมการทบทวนการ Refer • ประสานและส่งเสริมการทำ C3ther

  10. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ก่อนSurveillance • ส่งเสริมการดำเนินงานของทีมสหวิชาชีพ (โดยทีม Facilitator ประจำทีมสหวิชาชีพ ) • การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา • ปรับระบบการรายงาน • เผยแพร่ความรู้ด้านคุณภาพใน Intranet • \\dental2\ha • E-service homepage • จัดให้มีการนำเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพด้านยาเสพติด • จัดให้มีการเยี่ยมสำรวจภายใน

  11. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ หลังSurveillance • ประสานให้มีการกำหนดแผนเข็มมุ่งปี 49 ของสถาบัน • เวทีนำเสนอความก้าวหน้าทีมนำระดับกลาง • จัดสัปดาห์คร่อมสายงานเดือนละ 1 ครั้ง • ประชุมเชิงปฏิบัติการ unit optimization • การปรับเครื่องชี้วัดเพื่อเป็น Performance agreement • การวิเคราะห์กระบวนการหลัก • การทบทวนการตอบสนองความต้องการผู้รับบริการ • Update บัญชีความเสี่ยงระดับหน่วยงาน

  12. กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ หลังSurveillance • ประชุมเชิงปฏิบัติการ FMEA เพื่อค้นหาความเสี่ยงในกระบวนการบริหารยาผู้ป่วยใน • พัฒนา ห้องเอกสาร HA ในระบบ intranet • ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาคุณภาพ • เรื่องการแก้ปัญหาผู้ป่วยหลบหนี (ยังไม่แล้วเสร็จ) • การรับฝากเงินผู้ป่วยนอกเวลา (ยังไม่แล้วเสร็จ) • เริ่มดำเนินการ การจัดการความรู้ KM เรื่องการพัฒนาคุณภาพและการองค์ความรู้ในการบำบัดรักษายาเสพติด • ประสานงานการทบทวนและรวบรวม CPG ของสถาบันธัญญารักษ์ • ให้การบรรยายเรื่อง Knowledge management เบื้องต้น • สร้าง CoP เครือข่ายองค์ความรู้ธัญญารักษ์ ใน Internet

  13. แผนปฏิบัติการ ปี 2549

  14. แผนปฏิบัติการ ปี 2549

  15. ปฏิบัติการ 60 วัน เพื่อเตรียมความพร้อมรับ Re-Accreditation กิจกรรมหลัก ห้วงเวลา 1. ติดตามความก้าวหน้าทีมสหวิชาชีพ 2. ลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement) ประจำปี 2549ระหว่างผู้นำหน่วยกับผู้อำนวยการ 3. Workshop จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีระดับหน่วยงาน 4. Workshop จัดทำแบบประเมินตนเองระดับหน่วยงาน 5. Workshop จัดทำแบบประเมินตนเองระดับทีมสหวิชาชีพ 6. เยี่ยมสำรวจภายใน ครั้งที่ 9 (Intenal Survey) 7. นำเสนอผลการปรับแก้ไขหลังการเยี่ยมสำรวจภายในของหน่วยงาน และทีมสหวิชาชีพ 8. นำเสนอผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองประจำปี 2549 (ไตรมาสที่ 2) 9. Focus Survey โดยทีมนำและทีมผู้ประสานงานคุณภาพ *** ต้องมีมาตรการสื่อสาร 9 ขั้นตอนนี้ในทุกวิธีที่ทำได้ เพื่อสร้างกระแส*** 30 ม.ค. 49 1 ก.พ. 49 6 ก.พ. 49 14 ก.พ. 49 15 ก.พ. 49 6 – 10 มี.ค. 49 23 มี.ค. 49 31 มี.ค. 49 3 เม.ย. 49

  16. ความเสี่ยงสำคัญที่ต้องดำเนินการความเสี่ยงสำคัญที่ต้องดำเนินการ • ประสานงานเพื่อวางมาตรการป้องกันความเสี่ยงกรณีพยาบาลตรวจแทนแพทย์นอกเวลา (ข้อเสนอแนะจาก พรพ. ) • มาตรการการคัดกรองผู้ป่วยนอกเวลา • Criteria ในการตามแพทย์นอกเวลา และกรณีฉุกเฉิน • ระบบทบทวนเวชระเบียนโดยแพทย์และการเสริมความรู้พยาบาล • ต้องมีการคร่อมสายงานระหว่างแพทย์และพยาบาลเพื่อกำหนดมาตรการร่วมกัน • ผู้บริหาร จะให้มาตรการที่จัดทำนี้ ในการควบคุมต่อไป • การแก้ปัญหา refer ผู้ป่วยล่าช้าเนื่องจากข้อจำกัดของ ร.พ. ที่รับ refer • อาจเชิญ โรงพยาบาลใกล้เคียงเข้าร่วม ประชุมพัฒนาระบบ refer ร่วมกัน • แต่เราต้องมีมาตรการ ที่ชัดเจน ที่เต็มกำลัง ในการดูแลผู้ป่วย ที่รอ Refer

More Related