1 / 51

ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

ผลกระทบของมลพิษหมอกควันที่มีต่อสุขภาพ จ. เชียงใหม่. ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่. เปรียบเทียบทัศนียภาพ อากาศดี / อากาศเสีย. ทัศนวิสัยของดอยสุเทพ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 เวลา 10.00 น . PM 10 = 43.9 ไมโครกรัม / ลบ.ม. ทัศนวิสัยของดอยสุเทพ วันที่ 19 มีนาคม 2549 เวลา 10.00 น .

agrata
Download Presentation

ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบของมลพิษหมอกควันที่มีต่อสุขภาพผลกระทบของมลพิษหมอกควันที่มีต่อสุขภาพ จ. เชียงใหม่ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

  2. เปรียบเทียบทัศนียภาพ อากาศดี / อากาศเสีย ทัศนวิสัยของดอยสุเทพ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 เวลา 10.00 น. PM 10 = 43.9 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ทัศนวิสัยของดอยสุเทพ วันที่ 19 มีนาคม 2549 เวลา 10.00 น. PM 10 = 248.8 ไมโครกรัม/ลบ.ม.

  3. ขนาดของฝุ่นละอองในอากาศขนาดของฝุ่นละอองในอากาศ • ฝุ่นมีขนาดตั้งแต่ 100 ไมครอนลงมา • ฝุ่นขนาด 50 ไมครอนขึ้นไป สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ลอยตัวอยู่ได้ 2–3นาที • ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) จะแขวนลอยในอากาศได้นาน • ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน สามารถเข้าถึงทางเดินหายใจส่วนล่างและถุงลมปอดได้ • ฝุ่นขนาดเล็กมีขนาด 0.002 ไมครอน อยู่ในรูปของกลุ่มโมเลกุล

  4. เปรียบเทียบขนาดของฝุ่นละอองขนาดเล็กเปรียบเทียบขนาดของฝุ่นละอองขนาดเล็ก • เส้นผ่าศูนย์กลาง เส้นผม 100 ไมครอน • เสันผ่าศูนย์กลาง ปลายเข็มหมุด 50 ไมครอน • เซลล์เม็ดเลือดแดง 5 ไมครอน • เชื้อแบคทีเรีย 1 ไมครอน • เชื้อไวรัส 0.1 ไมครอน • ฝุ่นละออง PM10 2.5 – 10 ไมครอน • ฝุ่นละออง PM2.5 0.002 – 2.5 ไมครอน

  5. สภาพอากาศในเชียงใหม่เปรียบเทียบปี 2541 – 2551 ปี 2547 ค่าสูงสุด 249.3 ค่าต่ำสุด 10.7 ปี 2548 ค่าสูงสุด 206.9 ค่าต่ำสุด 12.5 ปี 2549 ค่าสูงสุด 248.8 ค่าต่ำสุด 25.1 ปี 2550 ค่าสูงสุด 303.9 ค่าต่ำสุด 10.7 หมายเหตุ1. ค่าเฉลี่ยมาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เท่ากับ 120 ไมโครกรัม : ลูกบาศก์เมตร ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ

  6. ปี 2550 ปี 2551 ที่มา กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (หมายเหตุ : จ.ลำพูนไม่มีสถานีตรวจวัด)

  7. สถานการณ์ฝุ่นละออง(PM10) ในภาคเหนือ ปี2552

  8. ปริมาณNO2ในอากาศ เชียงใหม่ – ลำปาง ปี2552 มาตรฐาน 170 ppb

  9. สถานการณ์โอโซนในภาคเหนือ ปี2552 มาตรฐาน 100 ppb

  10. ความเป็นมา สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ • ช่วงหน้าแล้ง (มกราคม- เมษายน) • ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก เพิ่มสูงขึ้น ในพื้นที่ภาคเหนือ • เนื่องจากความ แห้งแล้ง การเกิดไฟป่า เกษตรกร เผาเศษวัสดุเพื่อเตรียมพื้นที่ • สภาวะอากาศแห้งและนิ่งทำให้ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นสามารถแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้นาน

  11. สภาพภูมิประเทศ ของเมืองในภาคเหนือ เกิดสภาพ Inversion ที่มา : ดร. ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมืองนักวิจัย (ชำนาญการ) สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เลขาธิการ มูลนิธิสถาบันพัฒนาเมือง (เชียงใหม่)

  12. มกราคม 2550 ลาว ชร. มส. ชม. พม่า ลป. ลพ. มกราคม 2551 ลาว ชร. มส. ชม. พม่า ลป. ลพ. HOT SPOT ที่มา http://maps.geog.umd.edu/firms/kml/

  13. กุมภาพันธ์ 2550 ลาว ชร. มส. ชม. พม่า ลป. กุมภาพันธ์ 2551 ลพ. ลาว ชร. มส. ชม. พม่า ลป. ลพ.

  14. มีนาคม 2550 ลาว ชร. มส. ชม. พม่า ลป. ลพ. มีนาคม 2551 ลาว ชร. มส. ชม. พม่า ลป. ลพ.

  15. ไฟป่า สถิติการเกิดไฟป่า ปี 2551 (1 มกราคม 2551 - 30 เมษายน 2551) พื้นที่เสียหายจากไฟป่าลดลง จำนวน ครั้ง 1,431 เสียหาย 9,764.13 ไร่ (ปี 2550 เกิดไฟป่า 1,423 ครั้ง เสียหาย 12,317.75 ไร่) สาเหตุเกิดจากมนุษย์ทั้งสิ้น การเผาไร่ การหาของป่า ล่าสัตว์ พื้นที่เสียหายลดลง 32 %

  16. เปรียบเทียบอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปอดเปรียบเทียบอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปอด จังหวัดเชียงใหม่ปี 2545 - 2548 ปี อัตราป่วย อัตราตาย 2545 9.03 21.74 2546 39.01 24.10 2547 47.63 24.17 2548 58.12 ข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

  17. เปรียบเทียบอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคระบบทางเดินหายใจเปรียบเทียบอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ จังหวัดเชียงใหม่ปี 2545 - 2548 ปี อัตราป่วย อัตราตาย 2545 2,101.44 59.62 2546 3,493.12 73.59 2547 4,463.88 78.15 2548 4,675.31 ข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

  18. ผู้ป่วยที่คาดว่าได้รับผลกระทบจากหมอกควันผู้ป่วยที่คาดว่าได้รับผลกระทบจากหมอกควัน เดือนมีนาคม 2551 มีรายงานผู้ป่วยฯ 67,996 ราย เดือนมีนาคม 2550 มีรายงานผู้ป่วย 143,812 ราย ลดลงร้อยละ 52.72 [1] จำนวนผู้ป่วยที่คาดว่าได้รับผลกระทบจากหมอกควัน หมายถึง จำนวนผู้ป่วยที่จัดเก็บข้อมูลที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐ และมีอาการเจ็บป่วยที่คาดว่าเกิดจากสาเหตุต่างๆที่เกี่ยวกับสภาวะอากาศ เช่น หวัด ภูมิแพ้ เยื่อจมูกอักเสบจากการเปลี่ยนอากาศ เป็นต้น จำแนกตามรหัส ICD10 โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

  19. ผลกระทบต่อสุขภาพ • O3 มีผลระคายเคืองตา, ระคายเคืองทางเดินหายใจ, ความสามารถของปอดลดลง เหนื่อยเร็ว, ตาพร่ามัว • NO2 มีผลต่อผู้ป่วยที่เป็นหอบหืด ทำให้หลอดลมตีบตันได้ • COจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้มากกว่าO2 200 - 250 เท่า เกิดเป็นCarboxy haemoglobin (COHb) ลดความสามารถในการนำO2ไปสู่เนื้อเยื่อ , กระตุ้นหัวใจสูบฉีดเพิ่มขึ้น, ความสามารถในการออกกำลังกายลดลงในผู้ป่วยโรคหัวใจ • SO2 ระคายเคืองต่อตาและทางเดินหายใจ • ฝุ่นละอองขนาดเล็ก มีผลต่อการระคายเคืองทางเดินหายใจ,การอักเสบของหลอดลม, ปอดอักเสบ (ผู้ป่วยโรคหอบหืด เด็ก คนชรา เป็นกลุ่มเสี่ยง), โรคหลอดเลือดหัวใจ

  20. กลุ่มสารมลพิษในอากาศที่ต้องมีการเฝ้าระวังกลุ่มสารมลพิษในอากาศที่ต้องมีการเฝ้าระวัง • กลุ่ม VOCs (Volatile Organic Compounds) กลุ่มสารอินทรีย์ระเหย มี 19 ชนิดที่อยู่ในข่ายเฝ้าระวัง • กลุ่ม BTEX (Benzene, Toluene, Ethyl-benzene, Xylene) • กลุ่ม PAHs (Poly Aromatic Hydrocarbons) กลุ่มที่มีโครงสร้างเบนซีนตั้งแต่ 2 วงขึ้นไป มีมากกว่า 200 ชนิด หลายชนิดมีผลก่อมะเร็ง

  21. ความเคลื่อนไหวในปี 2551 • ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์หมอกควัน - สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงใหม่ • ศูนย์สื่อสารสาธารณะ - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ • ศูนย์ติดตามและประเมินผล - คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - สถานจัดการวิจัยระบบสุขภาพภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  22. ศูนย์เฝ้าระวัง และวิเคราะห์สถานการณ์ ข้อมูล อุตุนิยมวิทยา ข้อมูล ไฟป่า Hotspot ข้อมูล ฝุ่นละออง/AQI ข้อมูล Call center ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ รายงานผวจ.ชม. SMS-call center ศูนย์อำนวยการ เฉพาะกิจฯ ระดับอำเภอ /เทศบาล/อบต. วิเคราะห์สถานการณ์บูรณาการการปฏิบัติ (คน เครื่องมือ)เข้าระงับเหตุ, ติดตามเหตุ, คณะทำงานสนับสนุน ศูนย์เฉพาะกิจฯ (ประกาศจังหวัดเชียงใหม่ ลงวันที่ 23 มกราคม 2551)

  23. การดำเนินงานปี 2552 • กำหนดเจ้าภาพหลักตามแหล่งที่มา/สาเหตุของปัญหา

  24. ตัวชี้วัดที่ควรมีการเฝ้าระวังตัวชี้วัดที่ควรมีการเฝ้าระวัง • ระยะนี้ • PM10 , AQI , NOx , O3 , SO2 , CO • ระยะต่อไป(ถ้าเป็นไปได้) กลุ่มที่จะมีผลต่อการเกิดมะเร็ง • PM2.5 , ฝุ่นละอองลอยที่เป็นของเหลว เช่น ไอน้ำมัน ไอกรด • ก๊าซอินทรีย์ระเหย VOCs(Volatile Organic Compounds) โดยเฉพาะ BTEX (สารอโรแมติคที่เป็นVOCsคือ Benzene, Toluene, Ethyl benzene,Xylene) - PAHs (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons)

  25. ประเด็นที่น่าสนใจ • สภาพปริมาณรถยนต์ที่เข้ามาในเชียงใหม่มากขึ้น(เช่นช่วงเทศกาล, วันหยุดยาว, วันเสาร์อาทิตย์, งานรับพระราชทานปริญญา เป็นต้น) มีผลต่อการเพิ่มปริมาณหมอกควันมากน้อยเพียงใด • พฤติกรรมของคนจำนวนหนึ่งที่เผาขยะ เผากิ่งไม้ใบไม้ในช่วงวันหยุดเสาร์อาทิตย์ มีผลต่อการเพิ่มปริมาณหมอกควันในวันดังกล่าวเพียงใด • รูปแบบของทิศทางลมและความเร็วลมแบบใดที่มีผลต่อการเพิ่มหรือลดปริมาณหมอกควัน

  26. ประเด็นที่น่าสนใจ • PM10ในเชียงใหม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณ COหรือไม่ • ปริมาณ O3 ในอากาศเชียงใหม่ที่มีทิศทางเพิ่มขึ้นเรื่อยๆมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิ หรือ ปริมาณการใช้รถยนต์หรือไม่ • สถานการณ์ของ PM2.5 และ PAHsในเชียงใหม่เป็นอย่างไร

  27. ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ • อาจพิจารณาศึกษาเพื่อหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมต่อไป เช่น - อัตราป่วยของโรคหอบหืด, โรคปอด, หลอดลมอักเสบ, โรคหัวใจ - อัตราการกำเริบของอาการหอบหืดในผู้ป่วยหอบหืด,โรคปอด,COPD - อัตราป่วยโรคทางเดินหายใจในกลุ่มเด็กเล็ก และกลุ่มผู้สูงอายุ,ผู้แพ้ง่าย - อัตราตายของผู้ป่วยจากโรคที่เกี่ยวกับปอด, โรคหลอดเลือดหัวใจ - อัตราการเบิกใช้ยา หรือปริมาณการจำหน่ายยาของร้านยาเพื่อรักษา ป้องกัน อาการหอบหืด, เจ็บคอ, ไอ, ฯลฯ - อื่นๆที่อาจจะน่าเหมาะสม

  28. แผนดำเนินการ

  29. แผนดำเนินการ

  30. รายละเอียดข้อมูล การเก็บข้อมูลทั้งหมดเป็นข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ จะใช้ข้อมูลที่เป็นรายวัน พื้นที่ในการพิจารณาผลกระทบสุขภาพจะใช้เฉพาะในพื้นที่รอบๆสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ คือ สถานีร.ร.ยุพราชฯ ใช้ข้อมูลพื้นที่เขต อ.เมือง (ยกเว้นต.สุเทพ ต.สันผีเสื้อ และต.ช้างเผือก) สถานีศาลากลาง ใช้ข้อมูลพื้นที่เขต ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม ต.สันผีเสื้อ ต.ช้างเผือก อ.เมือง ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย สถานีภูพิงค์ฯ ใช้ข้อมูลพื้นที่เขต ตำบลสุเทพ อ.เมือง

More Related