1 / 37

ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ ครั้งที่ 6-2557

ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ ครั้งที่ 6-2557. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้ง ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องแจ้งให้นำไปปฏิบัติ 2.1 Better Service - ข้อเสนอ คสช./ แผนปฏิบัติ กสธ -แนวทางขับเคลื่อนของจังหวัดปทุมธานี.

emile
Download Presentation

ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ ครั้งที่ 6-2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบวาระการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯครั้งที่ 6-2557

  2. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งระเบียบวาระที่ 2 เรื่องแจ้งให้นำไปปฏิบัติ2.1 Better Service -ข้อเสนอ คสช./ แผนปฏิบัติ กสธ-แนวทางขับเคลื่อนของจังหวัดปทุมธานี

  3. -แนวทางขับเคลื่อน Better Service ของจังหวัดปทุมธานี1.โรงพยาบาลทุกแห่ง : จัดประชุมระดมสมองบุคลากรภายในโรงพยาบาล เพื่อร่วมกันวิเคราะห์กระบวนการจัดบริการ หรือ ปัญหาในการจัดบริการ เพื่อบรรลุตามเป้าประสงค์หลักของ Better Service (ได้พบหมอ รอไม่นาน อยู่ใกล้ไกลได้ยาเดียวกัน) พร้อมกำหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาหรือ การจัดบริการ นั้นๆ ตามแบบฟอร์มที่สิ่งมาพร้อมนี้ โดยรวบรวมส่ง กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี ภายในวันที่ 10 กรกฏาคม 25572.โรงพยาบาลทุกแห่ง : ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการฯ ในข้อ 1 พร้อมกับ จัดส่งรายงานผลการดำเนินงาน ฯตามแบบฟอร์ม ส่ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทุกเดือนภายในวันที่ 20 ของเดือน โดยเริ่มรายงานครั้งแรก เดือน กรกฏาคม 25573.โรงพยาบาลทุกแห่ง เตรียมนำเสนอผลการดำเนินงานและแผนพัฒนาในปีต่อไป ในเดือน กันยายน 2557 (กำหนดการที่แน่นอนจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง)

  4. แผนปฏิบัติการรองรับการพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น(Better Service) ในระยะเร่งด่วน (ปัจจุบัน-30 กันยายน 2557) ของ โรงพยาบาล....................................................................จังหวัดปทุมธานี

  5. (ตัวอย่าง) แบบรายงานผลการดำเนินงาน การพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น(Better Service) ในระยะเร่งด่วน (ปัจจุบัน-30 กันยายน 2557) ของ โรงพยาบาล....................................................................จังหวัดปทุมธานี ชื่อ-นามสกุล(ผู้รายงาน)........................................................ตำแหน่ง............................................วัน เดือน ปี ที่รายงาน............................

  6. 2.2 แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศจ.ปทุมธานี ปี 57-58

  7. แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศจังหวัดปทุมธานีปี 2557-2558 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี มิถุนายน 2557

  8. ปัญหาจากการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศจังหวัดปทุมธานี ปี 2557

  9. ปัญหาจากการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศจังหวัดปทุมธานี ปี 2557

  10. ผังการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม รายเดือนจากสถานบริการสู่ Datacenter จังหวัด (HDC) จ.ปทุมธานี รพ.สต. คลินิกเอกชน (JHCIS) Report MC2 - http://203.157.108.10/pathum HDC (43 แฟ้ม) ส่งข้อมูลภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน โรงพยาบาล คลินิกเอกชน (HOSxP) PDN การตรวจคุณภาพ (Auto Update) สนย.สธ. • จำนวนผู้มารับบริการรายเดือน • คีย์วันมารับบริการล่วงหน้า* • จำนวนประชากรแยกสถานะบุคคล • จำนวนประชากรแยกสถานะการจำหน่าย • ฯลฯ (อยู่ระหว่างดำเนินการ) Feedback *การตรวจสอบไม่เป็นอัตโนมัติ

  11. รูปแบบการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศจังหวัด มี 4 ด้าน ดังนี้ 1.พัฒนาคุณภาพการบันทึกข้อมูลของหน่วยบริการ 2.พัฒนา Data Center ระดับจังหวัด/อำเภอ 3.พัฒนาระบบรายงานจาก Data Center 4.พัฒนาคุณภาพของข้อมูล

  12. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุขของจังหวัดปทุมธานีระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุขของจังหวัดปทุมธานี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/อำเภอ สถานบริการ Input คลังข้อมูลระดับจังหวัด 43 แฟ้ม Data center การบันทึก/นำเข้าข้อมูล (JHCIS /HOSxP_PCU/HOSxP) Feedback ระบบตรวจสอบคุณภาพระดับจังหวัด เช่น โปรแกรม OP_PP 2010 การตรวจสอบข้อมูล ระดับสถานบริการ เช่น โปรแกรม OP_PP 2010 Process ผ่าน ไม่ผ่าน จะดำเนินการพัฒนาในปี 2558 คลังข้อมูลระดับจังหวัด http://203.157.108.10/pathum Output การส่งออกข้อมูล http://203.157.108.10:8080/hdc ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารระดับจังหวัด กระทรวงสาธารณสุข

  13. Pathumthani Health Data Center ’s Value Chain Main activities Health Data Centerที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบ การบันทึกข้อมูล ระดับสถานบริการ พัฒนาระบบ การตรวจสอบและ ส่งออกข้อมูล พัฒนาระบบ การตรวจสอบ/ Feedback ข้อมูลระดับจังหวัด พัฒนาระบบ สารสนเทศ ระดับจังหวัด พัฒนาระบบ การเชื่อมโยงข้อมูล ทุกระดับ จัดหา/ปรับปรุงHardware การจัดเก็บข้อมูล เช่น Server พัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากรทุกระดับ การระบบการบริหารจัดการ HDCคุณภาพ การศึกษารูปแบบเทคโนโลยีใหม่ๆ (software) มาปรับใช้ภายในจังหวัด Supported activities

  14. แผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน กค.-สค.57 การตรวจสอบปรับปรุงความสมบูรณ์ของแฟ้มข้อมูล 3 แฟ้มหลัก: Person,Chronic,Death + การปรับปรุงรหัสมาตรฐานต่างๆ ในโปรแกรมของหน่วยบริการ ทำไมต้อง 3 แฟ้มนี้ ก่อน ดูข้อมูลเดิม จาก

  15. แผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน กค.-สค.57 1.หน่วยบริการ (โรงพยาบาล/รพ.สต. /ศบส./คลินิกอบอุ่นเอกชน)

  16. แผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน กค.-สค.57

  17. แผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน กค.-สค.57

  18. แผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน กค.-สค.57 2. สสอ. /คปสอ.

  19. แผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน กค.-สค.57 3. สสจ./กวป.

  20. 2.3 การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๗

  21. แนวทางการดำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ เรื่อง การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิกระทรวงสาธารณสุขปี ๒๕๕๗

  22. ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ แบ่งกลุ่มผู้มีสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553 ดังนี้ 1. กลุ่มที่คณะรัฐมนตรีรับรองสถานะให้อาศัยอยู่ถาวร ได้แก่1.1 กลุ่มที่มีเลขขึ้นต้นในบัตรประจำตัวบุคคล เลข 3 และ 4 ที่เข้าเมืองโดย ชอบ ได้สิทธิอาศัยถาวร (พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2552) ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.14 1.2 กลุ่มที่เลขขึ้นต้นในบัตรประจำตัวบุคคล เลข 5 และ 8 เป็นคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วย กฎหมายมีสิทธิอาศัยถาวร ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.14 * กลุ่มนี้ไม่ต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ (ใช้สิทธิเหมือน UC) 2. กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวเพื่อ รอกระบวนการแก้ปัญหา 2.1 กลุ่มที่มีปัญหาการส่งกลับซึ่งได้รับการสำรวจทำทะเบียนประวัติและบัตรสี / บัตรประจำตัวผู้ไม่ใช่ สัญชาติไทยเพื่อการควบคุมและอยู่ระหว่างการแก้ปัญหา 2.2 กลุ่มที่ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนภายใต้ ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล เฉพาะกลุ่ม (1) กลุ่มนักเรียนในสถานศึกษาที่รับสวัสดิการจากรัฐบาลด้านการศึกษา มีเลขขึ้นต้นด้วย เลข 0 ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร. 38 ก (2) กลุ่มไร้รากเหง้า มีเลขขึ้นต้นใน บัตรประจำตัวบุคคล เลข 0 ประเภท ทะเบียนราษฎร์ ท.ร.38 ก (3) กลุ่มคนที่ทำประโยชน์ให้กับประเทศ มีเลขขึ้นต้นใน บัตรประจำตัวบุคคล เลข 0 ประเภททะเบียนราษฎร์ ท.ร.38 ก

  23. สิทธิประโยชน์ • การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • การตรวจวินิจฉัยโรค • การตรวจและรับฝากครรภ์ • การบำบัดและบริการทางการแพทย์ • อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ทางการแพทย์ • การคลอด • ค่าอาหารและห้องผู้ป่วยสามัญ • การบริบาลทารกแรกเกิด

  24. บริการที่ไม่ครอบคลุม • การรักษาภาวะผู้มีบุตรยาก • การผสมเทียม / การเปลี่ยนเพศ • การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงาม โดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ • การตรวจวินิจฉัยและการรักษาใดๆ ที่เกินความจำเป็นและข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ • การรักษาที่อยู่ระหว่างการค้นคว้าทดลอง • การบาดเจ็บจากการประสบภัยจากรถ ซึ่งอยู่ในความคุ้มครองตามกฎหมาย • โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทผู้ป่วยในเกิน ๑๘๐ วัน • การปลูกถ่ายอวัยวะ

  25. งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ ปี ๒๕๕๗(๑๐๐%) ๙๗๓,๓๔๕,๕๐๐.๐๐บาท สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส่วนกลาง (กลุ่มประกันสุขภาพ) กองทุนจังหวัด กองทุนกลาง ค่าบริหารจัดการ สสจ. ๑% ๙,๗๓๓,๔๕๕ บาท ค่าบริหารจัดการ กลุ่มประกันสุขภาพ ๑% ๙,๗๓๓,๔๕๕ บาท ๒๘๖,๑๖๓,๕๗๗.๐๐บาท ๖๖๗,๗๑๕,๐๑๓.๐๐บาท ประชากร ๕๐๓,๕๐๑คน ๑๓๒๖.๑๔ บาท/คน/ปี บริการผู้ป่วยในที่มีค่าใช้จ่ายสูง (IP HC) ที่มีค่า RW ≥ 4.0 ๒. บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE) นอกเขตจังหวัด ๓. บริการผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน (OP AE) นอกเขตจังหวัด ๔.กรณีการใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ใน การบำบัดโรค (Instrument: INST) ๕. กรณีตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการ ทำหัตถการหัวใจ ของผู้ป่วยนอกที่ เป็นบริการ แบบ Ambulatory care ๑.บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป/ สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ๒.บริการผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OP AE) ในเขตจังหวัด ๓. บริการผู้ป่วยนอกกรณีส่งต่อ (OP Refer) ทั้งในและนอกเขตจังหวัด ๔.บริการผู้ป่วยในทั่วไป (IP Normal) ๕.บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE)ในเขตจังหวัด ๖. บริการผู้ป่วยในกรณีส่งต่อ(IP Refer) ทั้งในและนอกเขตจังหวัด ผู้ป่วยใน จ่ายด้วยอัตรา ๙,๖๐๐บาทต่อAdj RWผู้ป่วยนอกในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามที่จ่ายจริงไม่เกิน ๗๐๐บาท นอกสังกัดกระทรวง จ่ายตามจริง

  26. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี กองทุนจังหวัด ค่าบริหารจัดการ สสจ. 28,203.483 บาท 1,934,834.249 บาท ประชากร 1,471 คน ๑.บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป/ สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ๒.บริการผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OP AE) ในเขตจังหวัด ๓. บริการผู้ป่วยนอกกรณีส่งต่อ (OP Refer) ทั้งในและนอกเขตจังหวัด ๔.บริการผู้ป่วยในทั่วไป (IP Normal) ๕.บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE)ในเขตจังหวัด ๖. บริการผู้ป่วยในกรณีส่งต่อ(IP Refer) ทั้งในและนอกเขตจังหวัด

  27. ขั้นตอนการดำเนินงาน หน่วยบริการ ส่งข้อมูลเบิกเคลม (วิธีการไม่เปลี่ยนแปลง) ฐานข้อมูลกระทรวงโปรแกรม ผ่านเวป State.cfo.in.th ตรวจเคลม ตรวจเคลม หน้าตรวจสอบเคลม ส่วนกลาง สสจ แต่ละจังหวัด การดูแลฐานข้อมูล โดยส่วนกลาง ทุกวันที่ 25-30 ของทุกเดือน ส่วนกลางจะทำการตรวจสอบข้อมูลเพื่อดึงข้อมูลให้จ่ายค่าเคลม สสจ ดึงข้อมูล View IPD Claim ในรูปแบบ 1.Excel และนำไปเข้า โปรแกมตามที่ สสจ ต้องการ2. รูปแบบที่ สสจ ต้องการผ่านเวป State.cfo.in.th ส่วนกลางทำรายงานตัดเคลมตามขั้นตอนปกติ

  28. การเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์การเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเบิกชดเชยค่าบริการทางแพทย์ของกระทรวงสาธารณสุข อัตราการจ่าย * OP เบิกจ่ายตามค่าใช้จ่ายจริงไม่เกิน ๗๐๐ บาท * IPจ่ายด้วยอัตรา ๙,๖๐๐ บาท ต่อ Adj RW (โดยจะมีการปรับอีกครั้งเมื่อสิ้นปีงบประมาณ แต่ทั้งนี้ ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐บาท ต่อ Adj RW )

  29. การเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์(กองทุนกลาง)การเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์(กองทุนกลาง) การขอเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์จากกองทุนกลาง ให้เบิกได้ในกรณีต่อไปนี้ • บริการผู้ป่วยในที่มีค่าใช้จ่ายสูง (IP HC) ที่มีค่า RW ≥ 4.0 • บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE) นอกเขตจังหวัด • บริการผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OP AE) นอกเขตจังหวัด • กรณีการใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ในการบำบัดโรค (Instrument: INST) • กรณีตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการทำหัตถการหัวใจ ของผู้ป่วยนอกที่เป็นบริการแบบ Ambulatory care

  30. กองทุนจังหวัด ๑. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป/ สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ๒.บริการผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OP AE) ในเขต จังหวัด ๓. บริการผู้ป่วยนอกกรณีส่งต่อ (OP Refer) ทั้งในและนอกเขต จังหวัด ๔.บริการผู้ป่วยในทั่วไป (IP Normal) ๕.บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE)ในเขตจังหวัด ๖. บริการผู้ป่วยในกรณีส่งต่อ(IP Refer) ทั้งในและนอกเขต จังหวัด

  31. ขั้นตอนการเบิกค่าชดเชยทางการแพทย์ของบุคคลผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ บุคคลผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1,471 คน เมื่อให้บริการทางการแพทย์แล้ว ดำเนินการ ดังนี้ 1. หน่วยบริการ - บันทึกข้อมูลการเบิกค่าชดเชยทางการแพทย์ และจัดส่งข้อมูลผ่าน website ของกลุ่มประกันสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 2. กองทุนจังหวัด(กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี ) - ตรวจสอบเคลม และพิจารณาการโอนเงินค่าชดเชยทางการแพทย์ของหน่วยบริการ เงื่อนไข วันรับผู้ป่วย ( Admit )หรือวันที่รับการรักษา ภายในวันที่ 30 กันยายน 2557 - จัดสรรเงินให้หน่วยบริการ แบ่งโอนจัดสรรเป็นรายไตรมาส - จัดสรรจนหมดวงเงิน

  32. การตรวจสอบสิทธิ

  33. การลงทะเบียน

  34. 2.4 เรื่องกลุ่มงานอื่นๆกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ:2.4.1 การขับเคลื่อนอำเภอสุขภาพดีปี 56 อ.หนองเสือ ผ่านการประเมินและรับรองปี 57 -ทุกอำเภอ ประเมินตนเองตามแบบประเมิน (รอศูนย์) -จังหวัด คัดเลือก 1 อำเภอ เข้าประเมินระดับเขต ประมาณ กค.-สค.572.4.2 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ กลุ่มเป้าหมาย 4 อำเภอ คือ อ.เมือง สามโคก ลาดหลุมแก้ว ธัญบุรี2.4.3 ศูนย์บริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน กลุ่มเป้าหมาย 4 รพ. คือ รพ.สามโคก รพ.ลาดหลุมแก้ว รพ.ประชาธิปัตย์ รพ.ธัญบุรี

  35. 2.4 เรื่องกลุ่มงานอื่นๆกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ:DHS

  36. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องอื่นๆ203.157.108.10/pathum203.157.108.10/pathum_report

More Related