1 / 24

การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS

การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑. “ เจ้าหน้าที่การเงิน ” หมายความว่า หัวหน้าฝ่ายการเงิน หรือ ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นซึ่งปฏิบัติงานใน ลักษณะเช่นกันกับหัวหน้าฝ่ายการเงิน

elliot
Download Presentation

การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS

  2. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑

  3. “เจ้าหน้าที่การเงิน” หมายความว่า หัวหน้าฝ่ายการเงิน หรือ ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นซึ่งปฏิบัติงานใน ลักษณะเช่นกันกับหัวหน้าฝ่ายการเงิน เจ้าหน้าที่รับจ่ายเงินของส่วนราชการ ในราชการบริหารส่วนภูมิภาคด้วย คำนิยาม

  4. “เงินรายได้แผ่นดิน” หมายความว่า เงินทั้งปวงที่ส่วนราชการจัดเก็บ หรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรม หรือนิติเหตุ และกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง และกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ บัญญัติไม่ให้ส่วนราชการนั้นนำไปใช้จ่าย หรือหักไว้เพื่อการใดๆ คำนิยาม

  5. “เงินนอกงบประมาณ” หมายความว่า เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของ ส่วนราชการ นอกจากเงินงบประมาณรายจ่าย เงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิกเกินส่งคืน และเงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน คำนิยาม

  6. “เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน” หมายความว่า เงินงบประมาณรายจ่ายที่ส่วนราชการ เบิกจากคลังไปแล้ว แต่ไม่ได้จ่าย หรือจ่ายไม่หมด หรือจ่ายไปแล้วแต่ถูกเรียกคืน และได้นำส่งคลังภายหลังสิ้นปีงบประมาณ หรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี คำนิยาม

  7. “ระบบ” หมายความว่า ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ซึ่งปฏิบัติโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือผ่านช่องทางอื่นที่กระทรวงการคลังกำหนด ก่อนนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ คำนิยาม

  8. หมวด ๒ การใช้งานในระบบ • ข้อ ๑๑ ให้หัวหน้าหน่วยงาน จัดทำคำสั่ง/มอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร • กำหนดบุคคลที่จะได้รับมอบหมาย • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ และ • กำหนดแนวทางการควบคุมการปฏิบัติงานของหน่วยงาน • เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการเข้าใช้งานในระบบสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ • และผู้ที่ได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้ง

  9.  ใช้ตามแบบ บก /ได้รับความเห็นชอบ กค  จัดทำทะเบียนคุม / ตรวจสอบ / เก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย  รายงาน บร อย่างน้อยไม่เกินวันที่ ๓๑ ต.ค. ของปีงบถัดไป  ห้ามขีดลบเพื่อแก้ไขเพิ่มเติม ลงรายการรับเงินผิดพลาด ให้ขีดฆ่า/เขียนใหม่ทั้งจำนวน และลงลายมือชื่อกำกับ  ออก บร ให้ผู้ชำระเงินทุกครั้ง  บันทึกข้อมูลการรับเงินในระบบภายในวันที่ได้รับเงิน  สิ้นเวลารับเงิน ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน (จำนวนเงินกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว้ในระบบ) หมวด ๖ การรับเงินของส่วนราชการ ส่วนที่ ๑ ใบเสร็จรับเงิน

  10. ตราครุฑ เลขที่/เล่มที่ บร.(กรณีจะควบคุมจำนวนเป็นเล่ม) ชื่อ สรก. ซึ่งจัดเก็บหรือรับชำระเงิน ที่ทำการ/สำนักงานที่ออก บร. วดป ที่รับเงิน ชื่อ นามสกุล ผู้ชำระเงิน ข้อความ/รายการระบุว่าเงินที่ได้รับชำระเป็นค่าอะไร จำนวนเงินที่รับชำระทั้งตัวเลขและตัวอักษร ข้อความระบุว่า “ได้มีการรับเงินไว้เป็นการถูกต้องแล้ว” ลายมือชื่อผู้รับเงิน ตำแหน่งผู้รับเงิน *** บร. ฉบับนี้จะสมบูรณ์ต่อเมื่อ จนท.ได้เรียกเก็บเงินตามเช็คได้ครบถ้วนแล้ว *** (กรณีรับชำระเงินเป็นเช็ค ใบเสร็จรับเงินที่ออกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

  11. หมวด ๖ การรับเงินของส่วนราชการ ส่วนที่ ๒ การรับเงิน •  เงินสด •  เช็ค •  ดราฟท์ •  ตราสารอื่น ที่ กค กำหนด

  12. รายได้แผ่นดิน (เงินสด) เกินหนึ่งหมื่นบาท นำส่งโดยด่วน ไม่เกินสามวันทำการ หมวด ๘ การนำเงินส่งคลังและฝากคลัง เช็ค/ดราฟท์/ตั๋วแลกเงิน นำฝาก/นำส่ง ในวันที่ได้รับ หรือ อย่างช้าภายในวันทำการถัดไป เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน นำส่งภายในสิบห้าวันทำการนับจากวันที่ได้รับคืน

  13. บก อนุมัติตามที่กรมสรรพสามิตขอทำความตกลงกับ กค ให้หน่วยจัดเก็บ - นำเงินสด/เช็ค /ดราฟต์ ฝากเข้าบัญชี กระแสรายวัน เพื่อเรียกเก็บเงินให้ได้ครบถ้วนก่อน - นำฝากเข้าบัญชีเงินฝากคลัง ภายในสามวันทำการนับตั้งแต่วันที่ธนาคารเรียกเก็บเงินตามเช็คได้แล้ว • หนังสือ บก ที่ กค 0409.7/33364 ลว 21 ธันวาคม 2550

  14. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการรับเงินผลประโยชน์เป็นเช็ค พ.ศ. ๒๕๓๗) เงินผลประโยชน์ หมายความว่า บรรดาเงินทั้งปวง ที่พึงชำระให้แก่รัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ เงินกู้หรือเงินอื่นใด ที่ส่วนราชการผู้จัดเก็บรับไว้เพื่อนำส่งคลัง

  15. ประเภทเช็ค เช็คธนาคารแห่งประเทศไทย (ก)  เช็คที่มีธนาคารค้ำประกัน (ข)  เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย (ค)  เช็คที่ผู้มีหน้าที่ชำระเงินผลประโยชน์ เป็นผู้สั่งจ่ายและใช้ชำระโดยตรง (ง)

  16. ลักษณะและเงื่อนไขของเช็คลักษณะและเงื่อนไขของเช็ค เป็นเช็คลงวันที่ที่เจ้าหน้าที่รับชำระเช็ค / ก่อนวันนั้นไม่เกิน สิบห้าวัน (เช็คประเภท ก ข ค) / ก่อนวันนั้นไม่เกิน เจ็ดวัน (เช็ค ประเภท ง) ห้ามรับเช็ค ลงวันที่ ล่วงหน้า เป็นเช็คที่เรียกเก็บเงินได้เต็มตามจำนวนเงินที่ระบุไว้ในเช็ค ห้ามรับเช็คที่มีจำนวนเงินสูงกว่าจำนวนเงินที่จะต้องชำระ

  17. การรับเช็ค ตั๋วแลกเงิน/ดราฟท์ ออกโดยธนาคาร ลักษณะเช่นเดียวกับ เช็ค (ค) ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับ การรับเช็ค (ค) เช็ค ประเภท ง จนท. รับได้ไม่เกิน หนึ่งแสนบาท เกินแสนไม่เกินสี่แสน หน สรก อนุมัติ สี่แสนขึ้นไป ปลัดกระทรวง อนุมัติ • ใบเสร็จรับเงิน บันทึกว่า “ใบเสร็จรับเงินจะสมบูรณ์ต่อเมื่อเรียกเก็บเงินตามเช็คได้ครบถ้วนแล้ว”

  18. การรับเช็คประเภท ง. โดยไม่จำกัดวงเงิน หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0526.7/2336 ลว 9 ก.พ. 2544 อนุมัติให้หัวหน้าส่วนราชการ (อธิบดีกรมสรรพสามิต) เป็นผู้อนุมัติการรับชำระเงินผลประโยชน์เป็นเช็คประเภท ง. สำหรับการชำระภาษีทุกประเภทได้โดยไม่จำกัดวงเงิน กรณีที่เกิดเช็คขัดข้องให้ปฏิบัติตามระเบียบที่เกี่ยวกับเช็ค ขัดข้องอย่างเคร่งครัด/ดำเนินคดีกับผู้เซ็นสั่งจ่ายโดยทันที

  19. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับเช็คขัดข้องข้อปฏิบัติเกี่ยวกับเช็คขัดข้อง ให้ สรก แจ้งเป็นหนังสือให้ลูกหนี้ทราบโดยเร็วที่สุด และเมื่อพ้นกำหนด ๗ วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งนั้น ยังไม่ได้รับชำระหนี้ให้ครบถ้วน ให้ดำเนินคดีทันที ห้าม ส่งเช็คขัดข้องคืน ให้ลูกหนี้หรือผู้สั่งจ่าย นอกจากแลกเปลี่ยนกับเช็ค ประเภท ข / ค หรือเงินสดเต็มมูลค่าตามเช็คขัดข้องนั้น ตลอดระยะเวลาที่มีเช็คขัดข้องอยู่ในมือ ให้ สรก แสดงเลขที่เช็ค/จำนวนเงินในรายงานเงินคงเหลือประจำวันให้ชัดเจน

  20. ข้อบังคับกระทรวงการคลังว่าด้วยการหักรายรับจ่ายขาดและการถอนคืนเงินรายรับ พ.ศ.๒๕๕๐ การหักรายรับจ่ายขาด หมายความว่า การหักรายจ่ายจากเงินรายรับที่ต้องนำส่งเข้าบัญชีคลังบัญชีที่ ๑ คลัง หมายความว่า บัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ ๑

  21. ข้อ ๘ การหักรายรับจ่ายขาด ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เว้นแต่ (๑) การหักเงินรายรับเพื่อจ่ายคืนเงินที่ส่วนราชการนำส่งเกินกว่ารายรับส่งผิดประเภทรายได้ส่งซ้ำ ข้อ ๙ รายจ่ายที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องทำความตกลงตามข้อ ๘ให้หัวหน้าส่วนราชการมีอำนาจอนุมัติการหักรายรับจ่ายขาด

  22. 1. ที่ กค 0526.5/ว 56 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2543 2. ที่ กค 0526.7/2336 ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 3. ที่ กค 1003/740 ลงวันที่ 7 มีนาคม 2549 4. ด่วน ที่ กค 0617.4/ว 54 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2556 5. ที่ กค 0409.3/ว 239 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 6. ที่ กค 0526.7/ว 41 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม 2543 7. ที่ กค 0617/ว 842 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2551 8. ที่ กค 0617/ว 1538 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 9. ด่วนที่สุด ที่ กค 0617.2/ว 86 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2554 หนังสือเวียน (แนวทางปฏิบัติ)

  23. 10. ที่ กค 0617/ว 1540 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 11. ที่ กค 0617/ว 117 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2552 12. ด่วน ที่ กค 0617.4/ว 53 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2556 13. ด่วนที่สุด ที่ กค 0617.2/ว 570 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2555 14. ด่วนที่สุด ที่ กค 0617.2/ว 254 ลงวันที่ 6 มีนาคม 2556 15. ด่วนที่สุด ที่ กค 0617.2/ว 253 ลงวันที่ 6 มีนาคม 2556 16. ด่วนที่สุด ที่ กค 0423.3/ว 89 ลงวันที่ 7 มีนาคม 2556 17. ด่วนที่สุด ที่ กค 0423.3/ว 65 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 หนังสือเวียน (แนวทางปฏิบัติ)

More Related