1 / 35

การบริหารงาน เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( R esult -B ased M anagement)

การบริหารงาน เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( R esult -B ased M anagement). นิสิต จันทร์สมวงศ์. รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน. 3 กุมภาพันธ์ 2555. 1. ลำดับการนำเสนอ. 1. หลักการบริหารงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์. 2. ทำไมการพัฒนาชุมชนจึงต้องบริหารงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์. 3.

egan
Download Presentation

การบริหารงาน เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( R esult -B ased M anagement)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงาน เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result-Based Management) นิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน 3 กุมภาพันธ์ 2555

  2. 1. ลำดับการนำเสนอ 1 หลักการบริหารงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2 ทำไมการพัฒนาชุมชนจึงต้องบริหารงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3 กรมการพัฒนาชุมชนบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร 4 พัฒนากรจะบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร

  3. 1. หลักการบริหารเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริหารเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result-Based Management) การบริหารงานเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) • แผนปฏิบัติการ/ขั้นตอน • ระยะเวลา/ควบคุม • เป้าหมายการดำเนินการ • ตัวชี้วัดเชิงปริมาณและคุณภาพ • การติดตาม+ • การประเมินผล • การกำหนดความเสี่ยงที่จะทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย • กำหนดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง • ทำแผนปฏิบัติการลดความเสี่ยง • การประเมินผล • การประเมินผลการดำเนินการ • (ongoing process) • การปรับเปลี่ยนวิธีการเพื่อบรรลุเป้าหมาย • การปรับเปลี่ยนเป้าหมายตามข้อเท็จจริง

  4. 2. ทำไมการพัฒนาชุมชนจึงต้องบริหารงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3.1 ทำไมต้องกำหนดยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนใหม่ อะไรคือภารกิจของเรา ? เราจะเดินทางไหนและอย่างไร ? 1 จุดยืนของกระบวนการพัฒนาชุมชน 6 สภาพความชัดเจนในการปฏิบัติ • ความเป็นเจ้าของภารกิจ • ความรับผิดชอบ • การบูรณาการขับเคลื่อนวาระชุมชน • บริหารจัดการชุมชน • กำหนดกรอบ/ทิศทาง/แผนการปฏิบัติ • กำหนดโครงการ Flagship/Best Practice • and Quick Win Project จุดยืนและสถานะภาพในอนาคต การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ภารกิจของเราเปลี่ยนแปลง ทันสถานการณ์หรือไม่ ? ทำไปเพื่ออะไร ? ความสอดคล้องกับสภาพ การบ้านเมือง ความชัดเจนในเป้าหมาย ของภารกิจ 5 2 • เป้าหมายไม่ชัดเจน • เป้าหมายเชิงปริมาณ • เป้าหมายเชิงคุณภาพ • ปกป้องสถาบัน • สมานฉันท์คนในชาติ • การทุจริตประพฤติมิชอบ • ผู้สูงวัยเพิ่มขึ้น ทำแล้วเกิดอะไร ? ภารกิจของ พช. สำคัญหรือไม่ ? ขาดความเป็นรูปธรรมในภารกิจ 3 ยุทธศาสตร์กรมขาดความสอดคล้อง ในนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล 4 • เศรษฐกิจพอเพียง : ชุมชนพอเพียง • ผู้นำชุมชนเข้มแข็ง : เพื่อนำการเปลี่ยนแปลง • ทุนชุมชน : การออม • แผนชุมชน : ประเมินแบบ A B C • ประชานิยม • นโยบายของรัฐ • นโยบายของกรม

  5. 3.กรมการพัฒนาชุมชนบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร3.กรมการพัฒนาชุมชนบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร 1. สร้างสรรค์ชุมชน อยู่เย็นเป็นสุข 2. เสริมสร้างขีดความสามารถ การบริหารงานชุมชน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. เสริมสร้างธรรมมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน 5. เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง

  6. ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) (แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ๑.๑.๑ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๑.๑๐ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนสินเชื่อรายย่อย ๑.๑๐.๑ เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ ๑ ล้านบาท ๑.๑๐.๒ จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมีวงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ ๑๐๐ ล้านบาท ๑. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ๑.๑ การแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๑.๑๓.๒ บริหารจัดการโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพ ๓.ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ๑. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ๑.๒ เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๑.๒ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ที่หลากหลายได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ๔. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๔.๕.๔ สนับสนุนบทบาทของสตรีไทยในการมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเสมอภาค ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ๘.๑.๒ เสริมสร้างประสิทธิภาพของระบบการบริหารงานแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง ๕.เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ๘.๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน ๒. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ

  7. แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ 7

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าหมาย : ๑. ตอบสนองต่อนโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจน ๒. ตอบสนองต่อนโยบายการสร้างความปรองดองของคน ในชาติ ๓. ตอบสนองยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ๔. ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 8

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ หมู่บ้าน/ชุมชนมีความสุขมวลรวม ชุมชน (GVH) ที่เพิ่มขึ้น ครัวเรือนยากจนตาม เกณฑ์รายได้ จปฐ. หมดไป คุณภาพการให้บริการ การแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ พัฒนากลไก การบูรณาการ ความยากจน สนับสนุน สื่อและเครื่องมือ พัฒนา/ส่งเสริมระบบฐานข้อมูลชุมชน 9 การพัฒนาองค์กร

  10. ผู้รับผิดชอบหลัก : ศจพ.พช. ผู้มีส่วนร่วม : สภว. สสช. สทอ. ศสท. สพช ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข กลยุทธ์ ๑.๑การแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ครัวเรือนยากจน ตามเกณฑ์รายได้ จปฐ. หมดไป ส่งเสริมกระบวนการชุมชน แก้ไขปัญหาความยากจน แบบยั่งยืน สร้างเครือข่ายการแก้ไข ปัญหาความยากจน พัฒนากลไกการบูรณาการ แก้ไขปัญหาความยากจน ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานสร้างความรู้ความเข้าใจ - สร้างความรู้ความเข้าใจเจ้าหน้าที่และภาคีการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - พัฒนาผู้นำชุมชน/อาสาพัฒนาชุมชนเป็นแกนนำเอาชนะความยากจน แผนงานทบทวนกลไกและเครื่องมือ - พัฒนาการใช้ข้อมูล จปฐ./กชช.๒ค เป็นข้อมูลแก้ไขปัญหาความยากจน - ปรับปรุงภารกิจและระบบการดำเนินงานของ ศจพ.มท/จ. และขับเคลื่อน ศจพ.จ., ศจพ.อ. แก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่อย่างจริงจัง แผนงานส่งเสริมแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจน - แก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ -ชี้เป้าชีวิต -แผนที่ชีวิต -บริหารจัดการชีวิต (ฝึกทักษะ ยกระดับรายได้ ) -ดูแลชีวิต - ส่งเสริมกลุ่ม องค์กร เครือข่ายในชุมชน และเอกชน สนับสนุนการแก้ไขปัญหาคนจน และจัดสวัสดิการให้ครัวเรือนยากจนแบบยั่งยืน แผนงานแสวงหาภาคีแก้ไขความยากจน - ประกาศระเบียบวาระการแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นนโยบายเน้นหนักของ พช. ในปี ๒๕๕๕ - ขับเคลื่อนพลัง MOU ต่อสู้ความยากจนกับ อปท. อำเภอจังหวัด และส่วนราชการอื่น - แสวงหาภาคีแก้ไขปัญหาความยากจนจากภาคเอกชนและต่างประเทศ Flagship Quickwin Best Practice Quickwin 10

  11. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข กลยุทธ์ ๑.๒เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว. สทอ. ศสท. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. หมู่บ้าน/ชุมชน มีความสุขมวลรวม ชุมชน (GVH) ที่เพิ่มขึ้น ปรับปรุงระบบการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริม ความสุขมวลรวมชุมชน สร้างมูลค่าเพิ่ม สู่ความสุขยั่งยืน ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาหมู่บ้าน - สร้างสื่อการเรียนรู้และการยอมรับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - สร้างกระแสความสุขพอเพียง - พัฒนาทักษะการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ผู้นำชุมชน - สร้างกลไกเชิงบูรณาการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง - พัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวมชุมชน - สนับสนุนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเป็นหลักในการพัฒนาและขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง แผนงานส่งเสริมกระบวนการความสุขมวลรวมชุมชน - ประเมินความสุขมวลรวมชุมชน ทุกหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง - ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงจากบ้านพี่สู่บ้านน้อง - พัฒนาทัศนคติการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - แสวงหาและส่งเสริมภาคีสนับสนุนการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง - สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมความสุขของชุมชน - ส่งเสริมและขับเคลื่อนกิจกรรมครอบครัวพัฒนา แผนงานสร้างมูลค่าเพิ่ม - ยกย่องเชิดชูเกียรติหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง - ประกาศระดับความสุขของหมู่บ้าน Quick win Flagship Best Practice Flagship 11

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน เป้าหมาย :๑. ตอบสนองนโยบายขจัดสิ้นยาเสพติด ๒. ตอบสนองนโยบายพลังแผ่นดินสร้างความปรองดองของคนในชาติ ๓. ตอบสนองยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ๔. ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง ยั่งยืน 12

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ข้อมูล จปฐ. และ กชช.๒ค ได้รับการยอมรับ และใช้ประโยชน์ ผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย มีขีดความสามารถในการ บริหารจัดการชุมชน แผนชุมชน มีมาตรฐานและ นำไปใช้แก้ไขปัญหา ในชุมชน ชุมชนมีการ จัดการความรู้ เพื่อพัฒนาอาชีพและ คุณภาพชีวิต คุณภาพการให้บริการ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนานวัตกรรม จัดการความรู้ และจัดทำฐานข้อมูล ด้านการบริหารจัดการชุมชน พัฒนาบุคลากรให้เป็น นักบริหารจัดการชุมชน สร้างคลังข้อมูลชุมชน 13 การพัฒนาองค์การ

  14. ยุทธศาสตร์ที่ ๒เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ผู้รับผิดชอบหลัก : ศสท. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สภว. สทอ. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. พัฒนาระบบและบริหาร การจัดเก็บข้อมูลการพัฒนา ชนบทให้มีคุณภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ การพัฒนาชนบท ส่งเสริมและสนับสนุน การใช้ประโยชน์ของข้อมูล เพื่อการพัฒนาชนบท ข้อมูล จปฐ. และ กชช.๒ค ได้รับการยอมรับ และใช้ประโยชน์ ต.ค.๒๕๕๔ - ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค.๒๕๕๔ - ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค.๒๕๕๔ - ก.ย.๒๕๕๙ แผนงานพัฒนาระบบและบริหารข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทให้จัดเก็บข้อมูลให้มีคุณภาพ - ดำเนินการพัฒนาศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย - พัฒนากระบวนการบริหารงานของ พชช. - พัฒนากระบวนการบริหารข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย - พัฒนากระบวนการบริการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย แผนงานบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชนแบบบูรณาการเพื่อยกระดับการพัฒนาชุมชน - ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดทำข้อมูลสารสนเทศชุมชนแบบบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วน - หมู่บ้านต้นแบบการจัดการสารเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต - ส่งเสริมการจัดทำข้อมูลสารสนเทศชุมชนระดับ อำเภอ/จังหวัด แผนงานการพัฒนารูปแบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน - การวิเคราะห์และออกแบบระบบรายงานข้อมูลสารสนเทศชุมชน - บริหารจัดการระบบคลังข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการชุมชน (Data Wear house) แผนงานส่งเสริมการนำข้อมูลสารสนเทศชุมชนไปใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ - นำเสนอข้อมูลเชิงนโยบายแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท แผนงานส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ - การนำเสนอระเบียบวาระแห่งชาติเรื่องคุณภาพชีวิตของคนไทย - การนำเสนอระเบียบวาระแห่งจังหวัดเรื่องคุณภาพชีวิตของคนในจังหวัด - การส่งเสริมและสนับสนุนให้นายกและปลัด อบต./เทศบาลตำบล ใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. กชช.๒ค อย่างจริงจัง - การคัดเลือกผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล/เทศบาลตำบลดีเด่นด้านการใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. กชช.๒ค Quickwin Flagship Quickwin Best Practice 14

  15. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้รับผิดชอบร่วม : สพช. สทอ. สภว. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๒เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย มีขีดความสามารถในการ บริหารจัดการชุมชน พัฒนากลไก การบริหารจัดการชุมชน เสริมสร้าง พลังเครือข่าย สร้างคุณค่าผู้นำ องค์กร เครือข่าย ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน - จัดตั้งสถาบันการพัฒนาผู้นำชุมชน (องค์การมหาชน) - พัฒนาระบบบูรณาการรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่าย - พัฒนาระบบบริหารสำนักงานอำนวยการคณะกรรมการกลาง ศอช./สำนักงานกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน - จัดทำและขับเคลื่อนแผนแม่บทลูกค้าสัมพันธ์ - ออกระเบียบกฎหมายรองรับงานอาสาพัฒนาชุมชน - จัดสวัสดิการผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย (มีอาชีพ/ค่าตอบแทน /ความรู้) - ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.) - เสริมสร้างพลังเครือข่ายพัฒนาความร่วมมือกับ NGO และภาคเอกชน - พัฒนาหลักสูตรผู้นำชุมชน องค์กร และเครือข่าย - หลักสูตรขั้นพื้นฐาน (Smart Leader) - หลักสูตรขั้นพัฒนา (Innovative Leader) - หลักสูตรขั้นก้าวหน้า (Strategic Leader) แผนงานเสริมสร้างพลังเครือข่าย - เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการของศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน/สมาคม/สมาพันธ์ - ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการ องค์กรและเครือข่ายสตรี และเยาวชน - สร้างความร่วมมือเพื่อการพัฒนาผู้นำชุมชน/องค์กร เครือข่ายทั้งในประเทศและประเทศในอาเซียน - พัฒนาความเข้มแข็งของครอบครัว กลุ่ม องค์กรสตรีองค์กรเยาวชน ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารงานพัฒนาชุมชน - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารของจังหวัด/อำเภอ - เตรียมความพร้อมผู้นำชุมชนสุ๋ประชาคมอาเซียน - เสริมสร้างพลังเครือข่ายพัฒนาความร่วมมือของประชาคมผู้นำชุมชนอาเซียน - ส่งเสริมบทบาท อช./ผู้นำ อช. ให้มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน - พัฒนาเส้นทางความก้าวหน้าของผู้นำชุมชน และเครือข่าย แผนงานพัฒนาผู้นำชุมชน - จัดตั้งคณะกรรมการความร่วมมืออาสาสมัครทุกระดับและภาคส่วน - เพิ่มศักยภาพ/องค์กร/เครือข่าย/ผู้นำชุมชน ผู้นำสตรี และผู้นำเยาวชน ให้เป็นผู้ชำนาญการด้านการบริหารจัดการชุมชน แผนงานเสริมสร้างคุณค่าและประชาสัมพันธ์ • - รวมพลังเครือข่ายพัฒนาชุมชนระดับชาติและภาคีการพัฒนาชุมชนระหว่างประเทศ • - ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้นำการพัฒนาดีเด่น • - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานในระดับชาติ • แผนงานสร้างเครือข่ายระดับนโยบาย • - ส่งเสริมให้เข้าสู่เวทีระดับชาติและเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในระดับชาติและสากล • - เชื่อมโยงผู้นำชุมเข้าร่วมกับ NGO สถาบันการศึกษา องค์กรชุมชน และภาคเอกชน Flagship Quick win Best Practice 15

  16. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช. ผู้มีส่วนร่วม : กผ. ศทช. สภว. สทอ. สพช. ผู้ปฏิบัติ : สสช. กผ. สพช. สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ แผนชุมชน มีคุณภาพมาตรฐานและ นำไปแก้ไขปัญหา ของชุมชนได้ พัฒนากลไกในการ ขับเคลื่อนแผนชุมชน พัฒนาระบบรับรอง มาตรฐานแผนชุมชน เพิ่มมูลค่าแผนชุมชน สู่นโยบายระดับชาติ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพกลไก • - ส่งเสริมและพัฒนาวิทยากรกระบวนการชุมชน • - พัฒนาเครื่องมือส่งเสริมกระบวนการชุมชน (เช่น วิเคราะห์บัญชีครัวเรือน วิเคราะห์ความสุข) • - เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนในการขับเคลื่อนแผนชุมชน • แผนงานพัฒนาระบบการ • บูรณาการแผนชุมชน • - พัฒนาสื่อและเครื่องมือในการประเมินและบูรณาการแผนชุมชน • - บูรณาการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนงานพัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน - พัฒนาระบบการประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน - ประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน/ตำบล - ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายคนทำแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน - สร้าง MOU กับสถาบัน การศึกษาและหน่วยงานอื่น เพื่อพัฒนาความเชื่อมั่นของระบบแผนชุมชน แผนงานเพิ่มมูลค่าเพิ่มแผนชุมชน - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การก้าวสู่แผนชุมชนมีคุณภาพมาตรฐาน และวาระแห่งชุมชน - ส่งเสริมแผนชุมชนในการจัดทำยุทธศาสตร์ชุมชนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง - สัมมนาวิชาการแผนคุณภาพ สังคมคุณภาพ มีคุณภาพระดับชาติ ประจำปี แผนงานสนับสนุนสู่นโยบายระดับชาติ - สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชนโดยใช้แผนชุมชนประกาศเป็นนโยบายระดับชาติ Best Practice Flagship 16

  17. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว.สทอ.ศสช. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ชุมชนมีการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาอาชีพและ คุณภาพชีวิต พัฒนากลไกและเครื่องมือ ขับเคลื่อนการจัดการความรู้ชุมชน สร้างเครือข่าย การจัดการความรู้ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ • แผนงานพัฒนากลไกการจัดการความรู้ • - พัฒนารูปแบบศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่เหมาะสม • - สร้างและพัฒนาเครือข่ายนักจัดการความรู้ภาคประชาชน แผนงานพัฒนาเครื่องมือการจัดการความรู้ • - พัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ชุมชน • - พัฒนาสื่อสำหรับนักจัดการความรู้ • - จัดทำคู่มือแนวทางสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ชุมชน • - จัดทำมาตรฐานศูนย์เรียนรู้ชุมชน แผนงานส่งเสริมศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ • - พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ (Community Center) (จุดเรียนรู้ชุมชน ศูนย์เก็บความรู้ ศูนย์เรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้สมบูรณ์แบบ) • - KM Mobile • - บูรณาการศูนย์เรียนรู้ชุมชนกับกระทรวงไอซีที และกระทรวงศึกษาธิการ • - เชิดชูเกียรตินักจัดการความรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้ แผนงานสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ • - สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชน • - พัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านไทยเพื่อการเรียนรู้ของชุมชนทางเครือข่ายออนไลน์ (www.moobanthai.com) • - จัดทำแผนเครือข่ายออนไลน์ Best Practice Quick win Quick win 17

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าหมาย : ๑. ตอบสนองต่อนโยบายผลิตภัณฑ์ OTOP ๒. ตอบสนองต่อนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๓. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ 18

  19. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับ ไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ชุมชนมีการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน มีคุณภาพได้มาตรฐาน คุณภาพการให้บริการ พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และการตลาด ส่งเสริมการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเผยแพร่สู่เวทีโลก พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านเศรษฐกิจฐานราก วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก สร้างและพัฒนา ระบบฐานข้อมูลและคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาบุคลากรด้านเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 19 การพัฒนาองค์กร

  20. ผู้รับผิดชอบหลัก : สภว. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สทอ. ศสท. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ กลยุทธ์ ๓.๑พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และการตลาด ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ มีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการและเครือข่าย ส่งเสริมช่องทาง การตลาด ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ - พัฒนาระบบทะเบียนของผู้ผลิต ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน - การส่งเสริมประสิทธิภาพแผนธุรกิจ (Business plan) - จัดตั้งสมาคมผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP แห่งประเทศไทย - พัฒนาศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก - ส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ - ส่งเสริมความร่วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (MOU) ด้านลิขสิทธิ์,สิทธิบัตร(ทรัพย์สินทางปัญญา)/มาตรฐานผลิตภัณฑ์/สถาบันการศึกษา(วิจัยพัฒนา)/E-commerce/การขนส่งผลิตภัณฑ์ชุมชน(ไปรษณีย์,รถไฟ,การบินไทย) - การส่งเสริมอาสาพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (อสฐ.) - พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ด้านการผลิต การบริหารจัดการ การตลาด และการบริหารเครือข่าย ในเชิงธุรกิจทั้งใน และต่างประเทศ แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ - พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานของคณะกรรมการ กอ.นตผ.จังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนเครือข่ายผู้ผลิต ผู้ประกอบการทุกระดับ แผนงานส่งเสริมช่องทางการตลาด - ส่งเสริมการตลาดเชิงรุก (OTOP Delivery/OTOP to the Factory/OTOP to the Restaurant/OTOP to Department Store/etc.) - จัดงานสืบสานภูมิปัญญาไทย (OTOP ภูมิภาค/OTOP Midyear/ OTOP city) - OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน - OTOP ไทยสู่สากล(ประชาคมอาเซียน,อนุภูมิภาค) - OTOP Distribution center - พัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางสั่งซื้อสั่งจ้างผลิตภัณฑ์จากกลุ่มอาชีพ(ศก.สอ, Dcop.net) - รายการทีวี OTOP - การตลาดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ OTOP (OTOP e-Commerce) - เว็บไซต์ OTOP ภาษาอังกฤษ Flagship Flagship Flagship Quick win Flagship Flagship 20

  21. ผู้รับผิดชอบหลัก : สภว. ผู้มีส่วนร่วม : กผ.สสช. สทอ. ศสท. ปชส. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ กลยุทธ์ ๓.๒ส่งเสริมการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเผยแพร่สู่เวทีโลก ชุมชนมีการอนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบค้น รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบสาน และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น - ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น - สืบค้น เสาะหา บันทึก ตำนานภูมิปัญญา - HALL OF FAME (ขึ้นทะเบียน ปราชญ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน) - ส่งเสริมการจดทะเบียนสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์สินค้า OTOP แผนงานพัฒนาและอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น - พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เป้าหมาย เพื่อการท่องเที่ยว - ส่งเสริมการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล - ส่งเสริมการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน -Domestic Young OTOP Camp -ยุวทูต OTOP -InternationalYoung OTOP Champion Camp แผนงานส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น - เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ่านสื่อสาธารณะ (TV วิทยุ วารสาร Website อื่นๆ) - ภูมิปัญญาแห่งอารยะ ศิลปะแห่งแผ่นดิน - ศักดิ์ศรีแห่งภูมิปัญญาไทยสู่ภูมิปัญญาโลก (OTOP Thailand Brand) - แกะรอยภูมิปัญญาท้องถิ่น(OTOP Press Tour) - ส่งเสริมการนำข้อมูลคลังภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ Best Practice Flagship Flagship Quick win 21

  22. ผู้รับผิดชอบหลัก : สภว. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สทอ. ศสท. ปชส. กผ. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ กลยุทธ์ ๓.๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ชุมชน มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน สร้างมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ชุมชน พัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานวิจัยผลิตภัณฑ์ชุมชน - สนับสนุนกระบวนการ วิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่การออกแบบใหม่ และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน (R & D) - ส่งเสริมเครือข่ายงานวิจัย แผนงานสร้างมูลค่าเพิ่ม - แข่งขันการสร้าง Ideas จากของขวัญผสมผสานผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP Fusion Gift Contest) - การแข่งขันคิดแผนการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP MarketingContest) - การแข่งขันการออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP Packaging Design Contest) - การแข่งขันการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน (Contest) - คัดสรรผลิตภัณฑ์ OTOP ดีเด่นของจังหวัด (Provincial star OTOP : PSO) แผนงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ส่งเสริมกระบวนการ KBO สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ - คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OPC) - ส่งเสริมและผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านการรับรองมาตรฐาน - พัฒนาศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ศูนย์สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับจังหวัด - การส่งเสริมการพัฒนาระบบ QC ในกระบวนการผลิต OTOP Flagship Flagship Quick win 22

  23. นโยบาย“หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์”มหัศจรรย์ไทยแลนด์(The Miracle One Tambon One Product Of Thailand) แนวความคิดพื้นฐาน สังคม คณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ) คณะอนุกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ภูมิภาค ภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่สากล * * อนุกรรมการ บริหาร อนุกรรมการ ส่งเสริมการผลิต อนุกรรมการ ส่งเสริมการตลาด อนุกรรมการ มาตรฐานและพัฒนาคุณภาพ นตผ.จังหวัด นตผ.อำเภอ เป้าหมาย: เศรษฐกิจชุมชน เข้มแข็งประชาชน มีสุข กระบวนงาน/กิจกรรมสู่ความสำเร็จ สร้างความเข้มแข็งกลุ่มผลิตภัณฑ์และเครือข่าย พัฒนาภูมิปัญญาไทยสู่สากล ส่งเสริมความมีมาตรฐานสินค้า พัฒนาศักยภาพสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ส่งเสริมการตลาด เชิงรุก คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion: OPC) Flagship • OTOP เชิงรุก • OTOP Delivery • OTOP Mobile • OTOP to • Department Store • OTOP to • Supermarket • Flagship การจดทะเบียนสิทธิบัตร OTOP Flagship การลงทะเบียนผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP Flagship คลังภูมิปัญญา OTOP ( OTOP Story) รายได้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เพิ่มสูงขึ้น 100,000 ล้านบาท/ปี (เดิม 50,000 ล้านบาท/ปี) ชุมชนพึ่งตนเองและคิดอย่างสร้างสรรค์ OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน 10 เมืองชายแดน Quickwin การพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ OTOP New Generation/ Young OTOP Camp พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านองค์ความรู้ โดย KBO (Knowledge – Based OTOP ) Flagship การพัฒนามาตรฐานสินค้า OTOP สู่สากล (OTOP QC) อาสาสมัครเศรษฐกิจฐานราก จำนวน 878 คน (อำเภอละ 1 คน) Flagship การแลกเปลี่ยน ภูมิปัญญาเยาวชน OTOP สู่อาเซียน การคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ดีเด่นของจังหวัด (Provincial Star OTOP : PSO) OTOP City/ OTOP Midyear/ OTOP ภูมิภาค สืบสานภูมิปัญญาไทยสู่ ภูมิปัญญาโลกที่สุวรรณภูมิ Quickwin การพัฒนาแผนธุรกิจ OTOP (OTOP business Plan) Flagship OTOP e-commerce สร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากชุมชน www.thaiotop.cdd.go.th www.otoptoday.com OTOP distribution center 117 ศูนย์ Flagship * หมายเหตุ อนุกรรมการ นตผ.จังหวัด/อำเภอเป็นกลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อน OTOP ให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย จัดตั้งสมาคมเครือข่ายผู้ประกอบการ OTOP /เครือข่ายตามประเภทผลิตภัณฑ์ หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว(OTOP village champion:OVC) 75 แห่ง Best Practice กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ • เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน • เป้าหมาย : ๑. ตอบสนองนโยบายกองทุนหมู่บ้านของรัฐบาล • ๒. ตอบสนองต่อนโยบายการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ • ๓. ตอบสนองต่อนโยบายการเสริมสร้างสวัสดิการชุมชน • ๔. ตอบสนองนโยบายกองทุนร่วมทุนของจังหวัด • ๕. ตอบสนองต่อนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • ๖. ตอบสนองยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ 24

  25. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ชุมชนมีแหล่งทุนในการประกอบอาชีพแก้ไขปัญหาความยากจน และจัดสวัสดิการชุมชน ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ชุมชนสามารถใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและใช้ประโยชน์ จากทุนชุมชน คุณภาพการให้บริการ ส่งเสริมธรรมาภิบาลของ กองทุนชุมชน พัฒนาทุนชุมชนให้มั่นคง สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ พัฒนาระบบธรรมาภิบาลกองทุนชุมชน พัฒนา/สร้างผู้เชี่ยวชาญด้านทุนชุมชน วิจัยพัฒนาและจัดการความรู้ด้านทุนชุมชน 25 การพัฒนาองค์กร

  26. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง กลยุทธ์ ๔.๑ส่งเสริมธรรมาภิบาลของกองทุนชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก : สทอ. ผู้มีส่วนร่วม : กผ. ศทธ. สสช. สภว. สพช. ผู้ปฏิบัติ : สทอ. สพจ. สพอ. ชุมนมีแหล่งทุน ในการประกอบ อาชีพ แก้ไขปัญหา ความยากจน และ จัดสวัสดิการ ชุมชน พัฒนาศักยภาพความเข้มแข็ง กองทุนชุมชน ส่งเสริมกองทุนชุมชน สู่ธรรมาภิบาล ส่งเสริมและพัฒนา สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ กองทุนทุนชุมชนภายใต้ หลักธรรมาภิบาล ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - ส่งเสริมระบบสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (ศูนย์สาธิต โรงสี ธนาคารข้าว ลานตากผลผลิต ฯลฯ.) - ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - พัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนชุมชน - พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการกองทุนชุมชน ๑) โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ฯ ๒) ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มออมทรัพย์ฯ แผนงานส่งเสริมและพัฒนาเงินทุนการแก้ไขปัญหาความยากจน - บริการตรวจสุขภาพกองทุน กข.คจ เคลื่อนที่ - พัฒนารูปแบบการบริหารโครงการ กข.คจ. แผนงานพัฒนาระบบธรรมาภิบาล - ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนชุมชนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและหมู่บ้าน กข.คจ.ด้วย ธรรมาภิบาล - พัฒนาการบัญชีด้วยระบบอิเลคทรอนิกส์กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตให้โปร่งใสและตรวจสอบได้ - พัฒนากระบวนการสร้างค่านิยมพื้นฐานคุณธรรม ๕ ประการ - ส่งเสริมและแก้ไขปัญหากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองให้ดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล - ประกาศเกียรติคุณกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตดีเด่น แผนงานจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน - ส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน แผนงานพัฒนาศักยภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน - พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการสถาบันการจัดการเงินชุมชน - ส่งเสริมระบบสร้างเสริมสุขภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน - ส่งเสริมแหล่งเรียนรู้เรื่องสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน แผนงานธรรมาภิบาลสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน - ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนด้วยธรรมาภิบาล - ประกาศเกียรติคุณสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนธรรมาภิบาลดีเด่น แผนงานกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมการออม และวินัยในการใช้เงิน - ส่งเสริมการจัดการทุนของครัวเรือน - ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในการพัฒนาอาชีพ สร้างสวัสดิการการแก้หนี้นอกระบบเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน - ส่งเสริมสวัสดิการครัวเรือน - ส่งเสริมกองทุนชุมชนเพื่อจัดสวัสดิการชุมชน - ส่งเสริมกองทุนชุมชนจัดกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) - ส่งเสริมกลุ่มในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ จปฐ. Best Practice Best Practice Flagship Quick win Flagship 26

  27. ผู้รับผิดชอบหลัก : สทอ. ผู้มีส่วนร่วม : สภว. สสช. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง กลยุทธ์ ๔.๒พัฒนาทุนชุมชนให้มั่นคงสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ชุมชนสามารถ ใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไข ปัญหาของชุมชนและ ใช้ประโยชน์จาก ทุนชุมชน พัฒนาระบบสารสนเทศและ ดัชนีทุนชุมชน พัฒนาระบบสนับสนุน การพัฒนาทุนชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ ประโยชน์จากทุนชุมชน ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานพัฒนาระบบสารสนเทศและดัชนีทุนชุมชน - จัดทำสารสนเทศและดัชนีวัดทุนชุมชน - พัฒนารูปแบบแนวทางการบริหารจัดการทุนชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ - พัฒนาฐานข้อมูลทุนชุมชนเพื่อการพัฒนา (รายงานการวิเคราะห์ทุนชุมชน : วิเคราะห์จากข้อมูล กชช.๒ค และ จปฐ.) - พัฒนาระบบฐานความรู้การพัฒนาทุนชุมชนในพื้นที่การอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ - พัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่ที่สามารถขยายผลการดำเนินงานทุนชุมชนตามแนวทางพระราชดำริ แผนงานพัฒนาระบบสนับสนุน - เสริมสร้างระบบการบริหารจัดการทุนชุมชน - ส่งเสริมการเรียนรู้การพัฒนาทุนชุมชนตาม แนวพระราชดำริ - แสวงหาภาคีเครือข่ายและแหล่งทุนจากภายนอกในการเสริมสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ - สร้างความร่วมมือในการพัฒนาทุนชุมชนกับภาคีเครือข่าย แผนงานสนับสนุนการใช้ประโยชน์ - ส่งเสริมการใช้ทุนชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของชุมชน - ส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน Flagship Best Practice Quick win 27

  28. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง เป้าหมาย : ๑. ตอบสนองนโยบายกำกับดูและองค์กรที่ดี ๒. ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ๓. ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 28

  29. ยุทธศาสตร์ที่ ๕เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง องค์กรมีสมรรถนะสูง เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ มีบุคลากรเก่ง ดี มีความสุข ผูกพันกับองค์กร และมีภาพลักษณ์ที่ชัดเจน ได้รับการยอมรับ องค์กรเป็นเลิศ ด้านการบริหารองค์การ มีระบบ ICT สำหรับบริหารยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพการให้บริการ พัฒนาองค์กรที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง : องค์กรแห่งการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาชุมชน พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ บริหารบุคลากรเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จัดสร้างและระบบบริหารยุทธศาสตร์ที่เอื้อต่อการส่งเสริมความรู้ทักษะเชิงนวัตกรรม สร้างระบบบริหารจัดการด้าน HR (HRM/HRD) เพิ่มประสิทธิภาพ KM และ R&D พัฒนาระบบ IT เพื่อสนับสนุนการบริหารและการบริการ 29 การพัฒนาองค์กร

  30. ยุทธศาสตร์ที่ ๕การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์:องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน กลยุทธ์ ๕.๑ พัฒนาองค์กรที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง : องค์กรแห่งการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก : กผ/ก.พ.ร. ผู้มีส่วนร่วม : ศสท. สพช. ผู้ปฏิบัติ : ทุกหน่วยงาน องค์กร เป็นเลิศด้านการบริหารองค์การ พัฒนาระบบ บริหารยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการองค์กร กำกับ ติดตามและ ประเมินผลองค์กร ส่งเสริม องค์กรแห่งนวัตกรรม ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานสร้างระบบและเครื่องมือ - จัดตั้งองค์กรบริหารยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนแห่งชาติ - พัฒนาบุคลากรสู่การเป็นนักยุทธศาสตร์มือโปร แผนงานกำหนดยุทธศาสตร์ - สร้างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนแห่งชาติ - พัฒนาความร่วมมือองค์กรต่างประเทศเพื่อยกระดับการบริหารยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนแห่งชาติ แผนงานขับเคลื่อนและสื่อสาร - พัฒนาศูนย์สารสนเทศการบริหารยุทธศาสตร์ (Cockpit) - พัฒนาช่องทางสื่อสารและ ประชุมวิชาการประจำปีว่าด้วยการพัฒนาชุมชน แผนงานพัฒนาสู่ PMQAระดับก้าวหน้า - พัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ PMQA สู่องค์กรระดับก้าวหน้า - หาคู่เทียบการพัฒนาองค์กร - ขยายผลการพัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ PMQA สู่หน่วยงานระดับจังหวัด แผนงานพัฒนาความโดดเด่น - พัฒนาช่องทางเข้าถึงองค์ความรู้ด้าน PMQA ด้วย Electronic - บูรณาการแผนพัฒนาองค์กรกับแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ - พัฒนาองค์กรเข้าแข่งขันเพื่อเข้ารับรางวัล PMQA และเข้าแข่งขันเพื่อเข้ารับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร (TQM) - พัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสู่สถาบันแห่งความเป็นเลิศเฉพาะด้าน เช่น สถาบันพัฒนาผู้นำชุมชน และเครือข่าย - พัฒนากระบวนการทำงานให้เร็วทันต่อสถานการณ์ แผนงานพัฒนานวัตกรรม - วิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม - ประกาศแผนพัฒนาองค์กรแห่งนวัตกรรม - สภาเครือข่ายการทำงานพัฒนาชุมชน - สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ผู้รับ บริการใหม่ แผนงานกำกับ ติดตาม และประเมินผล - ปรับปรุงระบบรายงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ Online Reportingcenter - พัฒนากลไกการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร - พัฒนารูปแบบการประเมินผลสำเร็จขององค์กร - พัฒนาดัชนีวัดผลสัมฤทธิ์เชิงคุณภาพ - ประชุมทางวิชาการเสนอผลการติดตามประเมินผล - ประเมินผลการพัฒนาองค์กรแห่งนวัตกรรม Best Practice Flagship Quick win 30

  31. ยุทธศาสตร์ที่ ๕การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนกลยุทธ์ ๕.๒ บริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร ผู้รับผิดชอบหลัก : กจ. ผู้มีส่วนร่วม : กพร./สล./กค. ผู้ปฏิบัติ : กจ. สล. สพช. บุคลากรเก่ง ดี มีความสุข และผูกพันกับองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพ ระบบ HR ทีเอื้อต่อการบริหารยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ การพัฒนาข้าราชการ เสริมสร้างสมดุลคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานระบบบริหารทรัพยากรบุคคล - ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล ปี ๕๕-๕๘ - พัฒนาระบบบริหารกำลังคนที่มีความหลากหลาย - ขับเคลื่อนระบบสรรหาเชิงกลยุทธ์ที่มีความรับผิดชอบ - พัฒนาค่านิยมบุคคล สู่วัฒนธรรมองค์กร แผนงานพัฒนาศักยภาพบุคลากร - พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะตามตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน - พัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ - เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาข้าราชการที่สอดคล้องกับความก้าวหน้าในอาชีพTraining road map - เสริมสร้างกำลังใจให้บุคลากร แผนงานสร้างนวัตกรรม - สร้างระบบที่ปรึกษาชุมชน พัฒนาระบบพี่เลี้ยงชุมชน ก้าวไปสู่นักบริหารจัดการชุมชน - พัฒนาความสามารถในการสร้างเครือข่ายการทำงานกับ อปท. องค์กรชุมชน และผู้นำชุมชน แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต - พัฒนาระบบการเสริมสร้างความผาสุกของบุคลากรกรมฯ - ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านคุณภาพชีวิตตามแนวทาง ก.พ. - ศึกษา และกำหนดกระบวนการทำงานของพัฒนากร - สร้างระบบสวัสดิการให้กับข้าราชการ สถานการณ์ กำลังคน เวลาแห่งการเรียนรู้ Quick win Flagship Best Practice 31

  32. ยุทธศาสตร์ที่ ๕เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนกลยุทธ์ ๕.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ ผู้รับผิดชอบหลัก : ศสท ผู้มีส่วนร่วม : สสช สภว สทอ สพช ผู้ปฏิบัติ : ศสท มีระบบ ICT สำหรับบริหารยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาสร้าง พื้นฐาน ICT การพัฒนาระบบ ICT เพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการระบบ ICT อย่างมีธรรมาภิบาล ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๙ - เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากระบบ ICT ให้เกิดความคุ้มค่า - เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการข่ายคอมพิวเตอร์และสมรรถนะของเครื่องมือ อุปกรณ์ ด้าน ICT สู่มาตรฐานสากล - พัฒนาระบบเชื่อมโยงเครือข่ายและการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย - พัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยแก่ข่าย ICT - พัฒนาบุคลากรกรมด้าน IT - สร้างฐานข้อมูลบุคลากร กรมการพัฒนาชุมชนด้วยการบูรณาการ - ออกแบบและพัฒนาระบบงานฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์กรมฯ - พัฒนาคลังข้อมูลเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ - ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (จัดการฐานข้อมูล ระบบงาน ระบบรายงาน ฯลฯ) - พัฒนาระบบการให้บริการด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Gov.) และการเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ (E-GIF) - พัฒนาและบริหารจัดการแผนแม่บท ICT กรมฯ - พัฒนามาตรฐาน ICT กรมฯ ตามแนวทางมาตรฐานสากล(ISO, PMQA ฯลฯ.) - พัฒนามาตรฐานระบบความปลอดภัยของ ICT(การสำรองข้อมูล พิสูจน์ตัวตน การป้องกันไวรัส ฯลฯ.) - พัฒนาและปรับปรุงกฎระเบียบด้าน IT เพื่อเอื้อต่อการใช้งาน ICT - สร้างความเข้มแข็งของกรมฯ ด้วยการผลักดันการใช้งาน ICT ที่ถูกต้องกับการบริการ และการบริหารที่เหมาะสม - สร้างความเข้มแข็งด้าน ICT แก่หน่วยงานในสังกัดกรมฯ Quick win Flagship Best Practice 32

  33. ยุทธศาสตร์ที่ ๕ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน กลยุทธ์ ๕.๔ เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ผู้รับผิดชอบหลัก : ปชส/สพช. ผู้มีส่วนร่วม : ศสท สสช สภว สทอ กจ ก.พ.ร. ผู้ปฏิบัติ : ทุกหน่วยงาน องค์กร มีภาพลักษณ์ ที่ชัดเจน และ ได้รับการยอมรับ สร้างภาพลักษณ์ องค์กร การจัดการความรู้ สู่ความเป็นเลิศ สร้างความเชื่อมั่น ในภาพลักษณ์ สื่อสาร ภาพลักษณ์ ต.ค. ๒๕๕๔ – ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ – ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ – ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ – ก.ย. ๒๕๕๙ แผนงานกำหนดภาพลักษณ์ - ค้นหา วิจัย ตัวตนที่ แท้จริงขององค์กร เพื่อเพิ่มช่องทางในการทำงาน - จัดทำแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาภาพลักษณ์องค์กร - ส่งเสริมการทำงานของบุคลากรแบบ CSR แผนงานพัฒนาภาพลักษณ์ - สร้างคุณค่างานพัฒนา ชุมชน - พัฒนาเครือข่ายสมาคม - สร้างกระแสภาพลักษณ์ ขององค์กร - สร้างอุดมการณ์พัฒนา ชุมชนด้วยตัวตนขององค์กร - พัฒนา CDD Idol แผนงานพัฒนาระบบกลไกการจัดการความรู้ - พัฒนาระบบและกลไก การบริหารจัดการความรู้และวิจัย - เพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการสถาบันแห่งความเป็นเลิศในงานพัฒนาชุมชน - สร้างและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาชุมชน แผนงานการบริหารองค์ความรู้ - เพิ่มประสิทธิภาพระบบ สารสนเทศการบริหารองค์ความรู้ แผนงานยกระดับวิชาชีพ - พัฒนาสถาบันการพัฒนาชุมชน และหลักสูตรด้านการพัฒนาชุมชน ให้บุคลากรด้านการพัฒนาชุมชนของทุกหน่วยงานได้เข้าศึกษา - จัดตั้งสมาคมวิชาชีพ การพัฒนาชุมชนแห่งประเทศไทย เพื่อรับรองสถานะวิชาชีพนักพัฒนาชุมชน - เสนอกฎหมายรองรับ วิชาชีพ แผนงานพัฒนาองค์ความรู้ - ผลิตสื่อวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน - พจนานุกรมการพัฒนาชุมชน แผนงานประชาสัมพันธ์ - สร้างความสัมพันธ์กับ สื่อมวลชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลูกค้า และผู้กำหนดนโยบาย - พัฒนาสื่อและช่องทาง การสื่อสารภาพลักษณ์(สถานี โทรทัศน์ CDD news สื่อมัลติมิเดีย) - สร้างเครือข่ายการประชา สัมพันธ์ - พัฒนาการสื่อสารเชิง การตลาด - หน่วยบริการงานพัฒนา ชุมชนเคลื่อนที่ Quick win Flagship Best Practice Best Practice 33

  34. 4. พัฒนากรจะบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างไร ความรู้และความเข้าใจในนโยบายของกรม ความสามรถในการคิดเชิงกลยุทธ์ปรับนโยบายกับการทำงานในพื้นที่(กิจกรรม) 3 1 พัฒนากร 2 ความเข้าใจในยุทธศาสตร์เป้าหมาย/ตัวชี้วัด ของกรมฯ การขับเคลื่อนงานในพื้นที่ 4 5 ความสามารถในการบูรณาการภารกิจของกรมกับภารกิจของจังหวัดและส่วนราชการอื่น ๆ ความสามรถในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน เครือข่าย ส่วนราชการ ภาคประชาชนเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง

  35. Q&A ขอบคุณครับ

More Related