1 / 23

การบริหารผลการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการการปฏิบัติราชการรายบุคคล

การบริหารผลการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการการปฏิบัติราชการรายบุคคล. โรงแรมแกรนด์หนองคาย 2-3 กุมภาพันธ์ 2552. วัตถุประสงค์. ผู้เข้ารับการอบรม ทราบการวิธีการประเมินผลงานแบบใหม่(ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการ)และการประเมินสมรรถนะ ตามแนวทางของ ก.พ.

drago
Download Presentation

การบริหารผลการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการการปฏิบัติราชการรายบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารผลการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการการปฏิบัติราชการรายบุคคลการบริหารผลการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการการปฏิบัติราชการรายบุคคล โรงแรมแกรนด์หนองคาย 2-3 กุมภาพันธ์ 2552

  2. วัตถุประสงค์ ผู้เข้ารับการอบรม ทราบการวิธีการประเมินผลงานแบบใหม่(ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการ)และการประเมินสมรรถนะ ตามแนวทางของ ก.พ. ทราบวิธีการ เทคนิคการถ่ายทอดตัวชี้วัดขององค์กร สู่ฝ่ายและผู้ปฏิบัติงาน เข้าใจและสามารถใช้แบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงานของ ก.พ.ได้ทั้ง 3 ชุด

  3. อะไรคือ การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management: PM) เราอาจจะเคยได้ยินในชื่ออื่น เช่น Management by Objective : MBO Managing for Results Results-Oriented Management Results Based Management ดังนั้น PM (คำที่ ก.พ.ใช้)จึงไม่ใช่ของใหม่ถอดด้าม

  4. PM ที่ได้ดำเนินการมาแล้วในระบบราชการที่เรารู้จัก กพร. -การจัดทำแผนยุทธศาสตร์/การกำหนดตัวชี้วัดระดับองค์กร (4 มิติ ) -การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ - PMQA ก.พ. - การวัดสมรรถนะ (Core competency ) - การกำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์/สมรรถนะรายบุคคล(ทดลองแล้วในหลายหน่วยงาน)

  5. หลักการของ PM 1.การวางแผน ปฏิบัติงาน 5.รางวัล 4.การพัฒนาผล การปฏิบัติงาน 2.การติดตามผล การปฏิบัติงาน 3.การประเมินผล การปฏิบัติงาน

  6. กระบวนการของ PM (ของ สำนักงาน ก.พ.) 1.การวางแผน ปฏิบัติงาน 5.รางวัล 2.การติดตามผล การปฏิบัติงาน 4.การประเมินผล การปฏิบัติงาน 3.การพัฒนาผล การปฏิบัติงาน

  7. ขั้นตอนที่ 1.การวางแผนปฏิบัติงาน 1.องค์กรมีตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย (KPI / Target) ขององค์กรประจำปี  2.ถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของหน่วยงาน/สู่ฝ่าย/สู่บุคคล  3.กำหนดสมรรถนะที่จำเป็นและความคาดหวัง ??? 4.มอบหมายงาน / จัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงาน

  8. การวางแผนปฏิบัติราชการการวางแผนปฏิบัติราชการ ทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  9. ขั้นตอนที่ 2. การติดตามผลการปฏิบัติงาน • ติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นระยะ • ให้คำแนะนำ เป็นโค้ช สอนงาน ให้กำลังใจ

  10. ขั้นตอนที่ 3 • ประเมินผลการปฏิบัติราชการ • ปีละ 2 ครั้ง 1 ตุลาคม – 30 มีนาคม 1 เมษายน – 30 กันยายน • ก.พ.(ตค.2551) กำหนดให้มีผลการประเมิน 5 ระดับ • ดีเด่น ดีมาก • ดี พอใช้ (>60%) • ยังต้องปรับปรุง)

  11. การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ วัดผลงาน ส่วนบุคคล ผลงานที่คาดหวัง ผู้ปฏิบัติงาน 1 คน + ความสามารถที่คาดหวัง ประเมินสมรรถนะ

  12. องค์ประกอบการประเมินผลองค์ประกอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามแนวทางของ ก.พ. 1 2 3 อื่นๆ ≤ 30 ≥ 70

  13. ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ทุกคน/ทุกระดับผลงาน 1.ได้รับคำแนะแล้วผู้ถูกประเมิน นำไปพัฒนาตนเอง ผลงานต้องปรับปรุงหลายครั้ง 6.การเปลี่ยนหน้าที่ มอบหมายงานใหม่ ขันตอนที่ 5 การให้รางวัล รับรางวัลตอบแทนตามผลงาน (Performance Related Pay)

  14. หลักการกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆขององค์กรหลักการกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆขององค์กร ตัวชี้วัดที่ชัดเจนสอดคล้องตามบทบาทหน้าที่องค์กร ผู้ปฏิบัติงานคือหัวใจการประเมินผลการปฏิบัติงาน

  15. ลำดับการวางแผนยุทธศาตร์ กระบวนงาน กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ กระบวนงาน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย โครงการ 1 2 1 2 1 2 1 2 2 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1. 1.1 1.2 1.3 พันธกิจ 1 พันธกิจ 2 2. 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 พันธกิจ 3 3. ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรมทรัพยากร ผลลัพธ์สุดท้าย (เงิน คน) จาก ก.พ.ร.(การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง )

  16. ลำดับชั้นของวัตถุประสงค์ลำดับชั้นของวัตถุประสงค์ ของระบบ Objective System สำคัญมากในการถ่ายทอดตัวชี้วัด

  17. Objective System (Logical Framework) 1.GOAL เป้าประสงค์ ของการพัฒนา ที่จะได้รับจาก หลายๆโครงการ (วัตถุประสงค์ระดับแผนงาน) 2.PURPOSE ผลลัพธ์ที่ที่โครงการต้องการให้บรรลุ จากการได้ผลผลิต **(Outcome) 3.OUTPUTS คือผลผลิตที่คาดหมายให้เกิดขึ้นจากการทำ กิจกรรมต่างๆ ของโครงการ 4.ACTIVITIES กิจกรรมสำคัญที่ต้องกระทำให้ครบเพื่อให้เกิด ผลงาน

  18. OJECTIVE SYSTEM Term ทั่วไป ตัวอย่าง Goal เป้าประสงค์ -โรคระบาดที่สำคัญในท้องถิ่นลดลง Purpose ผลลัพธ์ • ไข้เลือดออกลดลง ( 25 ต่อ แสนประชากร) Output ผลผลิต -หมู่บ้าน ทุกหมู่ มีค่า(HI < 10 CI = 0 ) • - SRRT มี STD ในการทำงาน • ร้อยละ 95 % ของครอบครัวร่วมมือในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย Activity • อบรม ประชาชน 1,500 คน • -อบรม STD ทีม SRRT 3 วัน • ฟื้นฟูการควบคุมไข้เลือดออกแก่ อสม. 60 คน • ใส่ทราย อะเบท 1,524 ตุ่ม ( 100 %)-รณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก 2 ครั้ง / มบ /ปี กิจกรรม

  19. ระดับของตัวชี้วัด Performance pyramid KPI หลัก (Outcome) ตัวชี้วัด ระดับองค์การ ตัวชี้วัดระดับฝ่าย/งาน KPI รอง Output ตัวชี้วัดระดับบุคคล กิจกรรม

  20. เป้าประสงค์ โรคระบาดทีสำคัญใน ท้องถิ่นลดลง ท้องร่วงลด TB ลด ไข้เลือดออกลด =25/แสน ผลลัพธ์ 90%ครอบครัวร่วมมือ ทุกหมู่ HI/CIผ่าน SRRT มี STD ผลผลิต กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม

  21. มิติการประเมินผลผลิต Quantity = ปริมาณ Quality = คุณลักษณะของผลผลิต Cost = ใช้งบประมาณ มาก หรือน้อยกว่าที่กำหนด Time = เวลา ก่อนหรืหลังกำหนดเวลา หาประสิทธิภาพ คือการเปรียบเทียบผลผลิตกับปัจจัยนำเข้า

  22. มิติการประเมินผลลัพธ์มิติการประเมินผลลัพธ์ Quantity = ปริมาณที่ผู้รับบริการได้รับ Quality = คุณลักษณะ พอใจหรือไม่ Target group = กลุ่มเป้าหมาย ตรงตามที่กำหนดหรือไม่ Place = สถานที่ ตรงตามแผนที่กำหนดหรือไม่ ประเมินประสิทธิผล

More Related