1 / 37

ระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection)

ระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection). ระยะที่ 1 มหาวิทยาลัย/สถาบัน 24 แห่ง. งบประมาณ 2545  การจัดซื้อครุภัณฑ์ : Sever ตั้งไว้ที่ สกอ. และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : PC และ Scanner ครบชุด ส่งให้มหาวิทยาลัย 10 แห่ง

dorit
Download Presentation

ระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection) ระยะที่ 1มหาวิทยาลัย/สถาบัน 24 แห่ง งบประมาณ 2545  การจัดซื้อครุภัณฑ์ :Sever ตั้งไว้ที่ สกอ. และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :PC และ Scanner ครบชุด ส่งให้มหาวิทยาลัย 10 แห่ง  Software : iKnowledge (DCMS – Digital Collection Management System) งบประมาณ 2546  การจัดซื้อครุภัณฑ์ :PC และ Scanner ครบชุด ส่งให้มหาวิทยาลัย 14 แห่ง : แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อกำหนดแผนงานการดำเนินการ โครงการประกอบด้วยผู้แทนจากมหาวิทยาลัย/สถาบัน จำนวน 27 สถาบัน (รวมผู้แทนจากสถาบันราชภัฎ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุม วัน) 49 คน

  2. คณะทำงานได้แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ - คณะทำงานกลุ่มย่อย จัดทำแผนการดำเนินงาน 5 ปี (2547 – 2551)รวมทั้งกำหนดคุณลักษณะและจัดหาครุภัณฑ์เพิ่มเติมสำหรับสถาบันราชภัฎ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน รวมทั้งกำหนดความต้องการเพิ่มเติมสำหรับโปรแกรม iKnowledge - คณะทำงานกลุ่มย่อยเพื่อกำหนดมาตรฐานการลงรายการด้วย Dublin Core Metadata - คณะทำงานบริหารฐานข้อมูล

  3. แผนการดำเนินงานพัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLis) เป้าหมายการดำเนินงาน • ดำเนินการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลในรูปอิเล็กทรอนิกส์สำหรับมหาวิทยาลัย/สถาบัน สถาบันราชภัฎ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน รวม 74 แห่ง • ให้บริการฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้เต็มรูปแบบของทุกมหาวิทยาลัย/สถาบัน • ส่งเสริมและพัฒนาระบบและการบริการให้มีความทันสมัยอย่างต่อเนื่อง

  4. แผนการดำเนินงาน

  5. แผนการดำเนินงาน (ต่อ)

  6. การกำหนดมาตรฐานการลงรายการ Metadata จำนวน 16 elements • Title = ชื่อเรื่อง(compulsory element) – ชื่อของทรัพยากรสานิเทศAlternative title (repeat) – ชื่อเรื่องรองและชื่อเรื่องอื่น ๆ (qualifier) • Creator = เจ้าของงาน(compulsory element, repeat) Creater affiliation – ที่อยู่ (qualifier) • Subject and Keywords = หัวเรื่องและคำสำคัญ(compulsory element, repeat) ให้ระบุ scheme ด้วย เช่น เป็นหัวเรื่อง LCSH หรือ MESH หรือ อื่น ๆ (qualifier) • Description = ลักษณะ– ระบุรายละเอียดของทรัพยากร อาจหมายถึงบทคัดย่อ (Abstract) หรือ สารบัญ (Table of contents) (qualifier) • Publisher = สำนักพิมพ์(repeat) – หน่วยงานที่ผลิตสารนิเทศ ลงรายละเอียดจากหน่วยงานใหญ่ไปหน่วยงานย่อย เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร, ภาควิชาภาษา

  7. Contributor = ผู้ร่วมงาน(repeat) ไม่ใช่ผู้แต่งร่วม กรณีผู้แต่งร่วมให้ลงใน Creator • Date = ปี(compulsory element, repeat) – ปีที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในวงจรของทรัพยากร ลงรายการโดยใช้มาตรฐาน ISO 8601 คือ YYYY-MM-DD เช่น 2546-08-17 หรือ 2546 หรือ 1998-02 เป็นต้นอาจระบุ Date.created, Date.modified หรือ Date.issued โดยไม่จำเป็นต้องระบุทั้งหมด (qualifier) • Type = ประเภท(compulsory element) ชนิดของเนื้อหาทรัพยากร เช่น วิทยานิพนธ์, วิจัย, software, text เป็นต้น • Format = รูปแบบ(compulsory element)– อธิบายลักษณะรูปร่างของทรัพยากร โดยใช้ข้อกำหนดของ IMT (Internet Media Type) เช่น application/pdf, text/html, image/gif เป็นต้น • Identifier = รหัส(repeat) – การอ้างอิงทรัพยากรสารนิเทศในรูปแบบปัจจุบัน เช่น ระบุ URL, URI, ISBN, ISSN

  8. 11. Source = ต้นฉบับ– การอ้างอิงถึงที่มาของทรัพยากรสารนิเทศ • Language = ภาษา– เสนอแนะให้ใช้ตามมาตรฐาน RFC 3066 เช่น en หรือ eng กรณีเป็นภาษาอังกฤษ เป็นต้น • Relation = เรื่องที่เกี่ยวข้อง– การอ้างถึงทรัพยากรสารนิเทศที่เกี่ยวข้อง อาจระบุเรื่องทีเกี่ยวข้องอื่น ๆ ได้ เช่น Relation.is VersionOf, Relation.Replaces เป็นต้น (qualifier) • Coverage = ขอบเขต– ระยะเวลาหรือขอบเขตเนื้อหาของทรัพยากร • Rights = สิทธิ(compulsory element) – ระบุเครื่องหมาย  และตามด้วยชื่อหน่วยงานหรือเจ้าของลิขสิทธิ์ • Thesis = ชื่อปริญญา ระดับ Thesis Degree Name Thesis Degree Level Thesis Degree Discipline Thesis Degree Grantor

  9. หมายเหตุ 1. compulsory elementหมายถึง เป็นหน่วยข้อมูลย่อย หรือ element ที่กำหนดให้ต้องลงรายการ • repeat หมายถึง สามารถลงรายการซ้ำได้ • qualifier หมายถึง ตัวขยายของ Dublin Core ***element หรือ หน่วยข้อมูลย่อยอื่น ๆ ที่ไม่ได้ระบุ ตามหมายเหตุข้างต้น หมายถึง เป็น element ที่ไม่บังคับให้ลงรายการ และไม่สามารถลงรายการซ้ำได้ ตามข้อตกลงในที่ประชุม***

  10. ข้อเสนอแนะเรื่องการจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ข้อเสนอแนะเรื่องการจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ 1. ควรจะมีการประชุมให้เป็นแนวทางว่าควรจะจัดเก็บเอกสารประเภทใดบ้างก่อนหลังเช่นควรทำวิทยานิพนธ์วิจัยหนังสือหายากเป็นหลักและมีเอกสารประเภทอื่นๆรองลงไปเพื่อให้ในเครือข่ายมีเอกสารในแนวทางเดียวกันไม่เปะปะกันเกินไป 2. ควรมีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดทำเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของแต่ละแห่งเพื่อจะได้รับความรู้และแลกเปลี่ยนแนวทางในการปฏิบัติงานซึ่งกันและกัน

  11. 3. เอกสารที่จัดเก็บในรูปอิเล็กทรอนิกส์ควรมีการปรึกษากันในเรื่องลิขสิทธิ์อย่างถ่องแท้เพราะแต่ละแห่งก็จัดเก็บตามความสามารถแต่อาจยังไม่ได้คำนึกถึงเรื่องลิขสิทธิ์อาจมีการนำนิติกรเพื่อช่วยให้แนวทางในด้านลิขสิทธิ์ของข้อมูลที่นำมาจัดทำ 4. ให้กำหนดชนิดของ electronic files ให้เหมือนกันทุกแห่ง 5. ในการจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ควรทำลายน้ำด้วยทุกระเบียนที่เป็น Full Text ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย/สถาบันนั้นๆที่เผยแพร่ 6. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาควรให้การสนับสนุนด้านงบประมาณและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในการดำเนินการจัดทำ Digital Collection เพิ่มขึ้นตลอดจนให้การสนับสนุนงบประมาณในการจัดจ้างบุคลากรชั่วคราวในการจัดเตรียมข้อมูลและนำข้อมูลเข้า

  12. 7. น่าจะมีกฎหมายในระดับชาติเพื่อให้สามารถเผยแพร่และใช้ข้อมูลร่วมกันได้เช่นวิทยานิพนธ์ของแต่ละมหาวิทยาลัย 8. หากเป็นนโยบายการจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารอิเล็กทรอนิกส์สกอ.ควรดำเนินการกำหนดนโยบายด้านการเผยแพร่เอกสารอิเล็กทรอนิกส์บางประเภทที่จำเป็นต้องใช้สืบค้นร่วมกันเช่นวิทยานิพนธ์เป็นต้นจากสกอ.โดยตรงและมอบหมายให้ทุกมหาวิทยาลัยดำเนินการเพื่อช่วยให้มหาวิทยาลัยหลายๆแห่งที่อาจประสบปัญหาด้านลิขสิทธิ์การเผยแพร่ของมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างรวดเร็วโดยไม่จำเป็นต้องทำเรื่องขออนุมัติการดำเนินการจากมหาวิทยาลัยอีก 9. ควรจัดตั้งงบประมาณกลางเพื่อให้ทุกหน่วยงานได้งบในการจัดทำ 10.มีความร่วมมือร่วมกันอย่างจริงจังในทุกส่วนทุกมหาวิทยาลัยในการจัดทำ

  13. 11. มีการคุยกันในระดับบริหารมหาวิทยาลัยในเรื่องลิขสิทธิ์และการเผยแพร่ • ขณะนี้ห้องสมุดไม่ได้รับความชัดเจนในการวางแผนการดำเนินงานในส่วนที่ เป็นเอกสารสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นๆที่ไม่ใช่หนังสือหรือวิทยานิพนธ์เนื่องจากปัญหาการกำหนดใช้มาตรฐานการลงรายการสิ่งพิมพ์คณะกรรมการควรพิจารณาหาแนวทางแก้ไข • ห้องสมุดทุกแห่งควรมีนโยบายการเผยแพร่เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ให้สามารถใช้ได้ทั้งหมดร่วมกัน • ขณะนี้โปรแกรมไม่สามารถเช็คสถิติผู้เข้าใช้บริการฐานข้อมูล full text ได้ทำให้ไม่แน่ใจว่ามีการใช้มากน้อยแค่ไหน • เห็นควรให้มีการเผยแพร่ข้อมูลในระบบ Digital Collection เหมือนกันทุกมหาวิทยาลัยเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการใช้ข้อมูลร่วมกันอันจะเกิดประโยชน์ต่อนักศึกษาและการศึกษาวิจัยของทุกสถาบันที่ร่วมโครงการ

  14. การสร้างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นภาระที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยทุกแห่งต้องดำเนินการอยู่แล้วดังนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกือบทุกแห่งต้องมีแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจนเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล ThaiLIS ควรกำหนดกรอบหรือทิศทางการดำเนินงานให้ชัดเจนเพื่อที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจะได้นำกรอบหรือทิศทางนี้ไปบรรจุไว้ในแผนการดำเนินงานเนื่องจากในปัจจุบันทุกองค์การต้องได้รับการประเมินประสิทธิผลองค์การอย่างเป็นรูปธรรมฉะนั้นผู้บริหารต้องการข้อมูลที่ชัดเจนเพื่อนำไปบูรณาการแผนและต้องคิดล่วงหน้าสำหรับ การดำเนินงานในขั้นต่อๆไปด้วย • ควรหารือเรื่องลิขสิทธิ์วิทยานิพนธ์หรือเอกสารที่เป็นของมหาวิทยาลัยในที่ประชุมคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยหรือที่ประชุมอธิการบดีเพื่อให้มีการแสวงหาทางออกร่วมกันเมื่อได้ข้อสรุปแล้วจึงนำมาหารือในกลุ่มงานของ ThaiLIS อีกครั้งไม่ใช่ปล่อยให้แต่ละมหาวิทยาลัยไปดำเนินการเองเพราะอาจเป็นไปได้ว่าบางมหาวิทยาลัยอาจยังไม่ตัดสินใจแต่ให้ศึกษาจากการดำเนินงานของที่อื่นก่อนหรือเลื่อนไปดำเนินการเมื่อพร้อมมีผลให้ผู้ใช้บริการอาจไม่ได้รับข้อมูลที่สมบูรณ์

  15. การนำเสนอปัญหา และอุปสรรค แก่ประธานคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา • การที่มหาวิทยาลัย/สถาบัน บางแห่งไม่เปิดให้ มหาวิทยาลัย/ สถาบันอื่นใช้เอกสารฉบับเต็ม (Full text) • การทดกำลังคน และงบประมาณสำหรับดำเนินงานของห้องสมุดแต่ละแห่ง

  16. การแก้ไข สกอ. ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน Record ละ 200 บาท

  17. ผลผลิต ระยะที่ 1 จัดทำเอกสารประเภทวิทยานิพนธ์ได้จำนวน 12,000 Records รวมได้รับงบประมาณสนับสนุนทั้งสิ้น 2,400,000 บาท

  18. ระยะที่ 2 ปี 2548 - การขยายการดำเนินงาน มหาวิทยาลัย/สถาบัน 24 แห่ง มหาวิทยาลัย ราชภัฎ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยสงฆ์ สถาบันเทคโนโลยีประทุมวัน

  19. อุปสรรค - ไม่มี Hardware และ Software ข้อตกลง - ได้รับการสนับสนุนการดำเนินงานเป็นค่าตอบแทน Records ละ 200 บาท - จัดทำเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ เอกสารประเภทวิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ งานวิจัย - กำหนดจำนวนการจัดทำสถาบันละ 1,000 Records - สถาบันที่เข้าร่วมจะต้องดำเนินการจัดทำเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับต้องทำการเผยแพร่ให้สามารถใช้งานทรัพยากรร่วมกันบนเครือข่าย UniNet วิธีกาดำเนินงาน - คณะทำงานได้ขอให้นายจีระพล คุ่มเคี่ยม จากสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือพัฒนาโปรแกรม ระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น

  20. การประสานงาน การแบ่งกลุ่มของมหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานกลางของหน่วยงานที่สังกัดในแต่ละกลุ่ม และกำหนดให้หน่วยงานที่อยู่ในเขตเดียวกันในแต่ละกลุ่ม ส่งข้อมูลแบบสอบถามไปยังผู้ประสานงานในหน่วยงานที่อยู่ในเขตเดี่ยวกันในแต่ละกลุ่ม ส่งข้อมูลแบบสอบถามไปยังผู้ประสานงานในกลุ่มที่สังกัดอยู่ โดยผู้ประสานงานเป็นผู้รวบรวมและจัดส่งให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาต่อไป โดยมีรายละเอียดของแต่ละกลุ่มดังนี้

  21. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล แบ่งเป็น 9 กลุ่ม โดยมีผู้ประสานงานของแต่ละกลุ่ม ดังนี้

  22. มหาวิทยาลัยราชภัฎ แบ่งเป็น 8 กลุ่ม โดยมีผู้ประสานงานของแต่ละกลุ่ม

  23. กำหนดผู้แทนสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยสงฆ์ และสถาบันเทคโนโลยีประทุมวัน แห่งละ 2 ท่าน เข้าร่วมเป็นคณะทำงานด้านระบบ กำหนดให้มีการประชุมคณะทำงาน และกำหนดให้มีการจัดฝึกอบรมสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินการจัดทำเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยสงฆ์ และสถาบันเทคโนโลยีประทุมวัน โดยมีรายละเอียดดังนี้

  24. ภาคเหนือประกอบด้วย 1. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 2. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 3. มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง 4. มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร 6. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ 7. มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม 8. มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ 9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ทั้งนี้ สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ดำเนินการแบ่งรายชื่อมหาวิทยาลัย/สถาบันตามเขตภูมิภาคแล้วเป็นดังนี้

  25. มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครพนม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย

  26. มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง มหาวิทยาลัยราชภัฎจัทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคกลาง ประกอบด้วย

  27. ภาคใต้ ประกอบด้วย • มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช • มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต • มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา • มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา • มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

  28. ผู้ประสานงานจากสำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ผู้ประสานงานจากสำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา 1. นางสาวปิยะนุช ปรางค์มณี e-mail piyanuch@uni.net.th 2. นางสาวปัทมา บุนนาคe-mailpatama@uni.net.th 3. นางสาวชบาไพร ลออ e-mailchabapril@uni.net.th หรือสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารโครงการ ThaiLIS ได้ที่เว็บไซด์ http://www.thails.or.th

  29. ผลผลิต ปี 2548 (รวมมหาวิทยาลัย/สถาบัน 70 แห่ง) • จัดทำ วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/งายวิจัยฉบับเต็ม จำนวน 39,069 รายการ ใช้งบประมาณ (อัตราค่าตอบแทน 200 บาท : Record) 7,813,800 บาท • จัดทำบทความวารสารฉบับเต็ม จำนวน 13,969 รายการ ใช้งบประมาณ (อัตราค่าตอบแทน 50 บาท : Record) 698,450 บาท รวม 53,038 รายการ เป็นเงิน 8,512,250 บาท

  30. สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การทบทวนปัญหา อุปสรรค ร่วมกับ สกอ. 1. ทรัพยากรการให้บริการระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ - การดำเนินการกับสถาบันที่เข้าร่วมโครงการ แล้วไม่เปิดให้บริการเอกสารฉบับเต็ม (Full text) - การเปิดให้บริการแก่สาธารณะ (Public) ที่มิใช่สถาบันสมาชิก ThaiLIS * Full text เต็มรูปแบบ * ค้นได้เฉพาะ Metadata * ค้นได้เฉพาะ Metadata และสาระสังเขปวิทยานิพนธ์ * ถ้าไม่ใช่สมาชิก ThaiLIS ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเปิดใช้ Full text หรือไม่

  31. 2. การบริหารจัดการส่วนกลาง - ผู้บริหารห้องสมุดไม่ได้รับข้อมูล รายละเอียด/ขอบเขตการดำเนินงาน - ปัญหาการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทน 3. การบริหารงาน - ยังไม่มีการมอบหมายผู้ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารระบบ และผู้ที่ทำหน้าที่สำรองข้อมูล 4. โปรแกรม - iKnowledge = สำหรับมหาวิทยาลัย 24 แห่ง - โปรแกรมที่พัฒนาโดยนายจีระพล คุ่มเคี่ยม สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฎ / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล / มหาวิทยาลัยสงฆ์ และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 5. การบริการ -ปัญหาจากการใช้โปรแกรม 2 ระบบ ทำให้ผู้ใช้ต้องค้น 2 ครั้ง 6. การตรวจสอบ Metadata และ Object 7. การเปลี่ยน IP ของแต่ละสถาบัน

  32. โมเดลความร่วมมือ ให้คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย 1. ที่ปรึกษา 2. ผู้แทนเลือกจาก node ต่าง ๆ ในภูมิภาค 3. ผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบ และข้อมูล

  33. ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ N1 N1 N1 ที่ปรึกษา N1 N1 N1

  34. คุณสมบัติของผู้ที่จะเป็นตัวแทน Node ต่าง ๆ • หน่วยงานนั้นต้องมีความพร้อมทางด้านบุคลากร • เครือข่ายของสถาบันนั้นจะต้องดี มั่นคง รวดเร็ว • ต้องสามารถให้คำปรึกษาในการแก้ไขปัญหาการใช้งานทั้ง 2 ระบบ • ต้องติดตามงานของสถาบันในกลุ่ม • บุคคลนั้นต้องรับอนุมัติจากสถาบัน

  35. การดำเนินงาน ปี 2549

  36. สวัสดี

More Related