1 / 39

สุขภาพ บัญญัติ สุขบัญญัติ

สุขภาพ บัญญัติ สุขบัญญัติ. +. สุขภาพ คือ. สุขภาวะ 4 ด้าน 1. ร่างกาย 2. จิตใจ 3. สังคม 4. ปัญญา. บัญญัติ. เป็นการกำหนด แนวทางให้คนนำไป ปฏิบัติ. สุขบัญญัติ คือ ……. ข้อกำหนดพฤติกรรมสุขภาวะ เพื่อนำไปปฏิบัติสู่การมี สุขภาพที่ดี และ ชีวียืนยาว. สุขบัญญัติแห่งชาติ.

Download Presentation

สุขภาพ บัญญัติ สุขบัญญัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สุขภาพบัญญัติสุขบัญญัติสุขภาพบัญญัติสุขบัญญัติ +

  2. สุขภาพ คือ..... สุขภาวะ 4 ด้าน1. ร่างกาย2. จิตใจ3. สังคม4.ปัญญา

  3. บัญญัติ เป็นการกำหนดแนวทางให้คนนำไปปฏิบัติ

  4. สุขบัญญัติ คือ…… ข้อกำหนดพฤติกรรมสุขภาวะ เพื่อนำไปปฏิบัติสู่การมีสุขภาพที่ดี และ ชีวียืนยาว

  5. สุขบัญญัติแห่งชาติ • เป็นมาตรการทางสังคมที่กำหนดโดยคนไทย • เป็นข้อกำหนดที่ทุกภาคส่วนต้องนำไปเผยแพร่ • เป็นข้อกำหนดที่คนไทยทุกคนควรปฏิบัติ

  6. ความจำเป็น • ปัญหาสุขภาพรุนแรงขั้นเรื่อย ๆ • ปัญหาสุขภาพบั่นทอนคุณภาพชีวิต • ปัญหาสุขภาพมีผลกระทบต่อการสร้างประเทศ • ปัญหาสุขภาพปล่อยไว้.....หายนะ

  7. ปัญหาสุขภาพ โรค เกิดจาก พฤติกรรมมนุษย์!!!!

  8. การแก้ปัญหาสุขภาพ/โรคต้องแก้ที่พฤติกรรมมนุษย์การแก้ปัญหาสุขภาพ/โรคต้องแก้ที่พฤติกรรมมนุษย์

  9. สุขบัญญัติหากปฏิบัติได้จะแก้ไขปัญหาสุขภาพสุขบัญญัติหากปฏิบัติได้จะแก้ไขปัญหาสุขภาพ

  10. สุขบัญญัติพัฒนามาจากกติกากรมอนามัยในปี พ.ศ. 2475

  11. ปรับปรุงเนื้อหา ภาษา ถ้อยคำทำติดต่อเรื่อยมาจนล่าสุดปี 2536ยกให้เป็นเกณฑ์ปฏิบัติขั้นพื้นฐานด้านสุขภาพของคนไทย

  12. 28 พฤษภาคม 2539ครม. ประกาศให้เป็นสุขบัญญัติแห่งชาติ

  13. วิเคราะห์เจาะ 10 ข้อสุขบัญญัติ ข้อ 1 ดูแลร่างกายและของใช้ให้สะอาด • ประเด็นคือ ความสะอาด • เป้าหมาย คือ ปลูกฝังรักษ์ความสะอาด • อะไรคือ แรงจูงใจที่จะทำ • เน้นคนกลุ่มใด

  14. ข้อ 2 รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง • ประเด็นคือ สุขภาพฟัน • เป้าหมาย คือ แปรงฟันอย่างถูกต้อง • ไม่แปรงฟัน / ไม่ดูแลฟันอันตรายอะไร • เน้น เด็ก กลุ่มใด

  15. ข้อ 3 ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย • ประเด็นคือ ล้างมือ • เป้าหมาย ปลูกนิสัยล้างมือ • ไม่ล้างมือ จะเกิดอะไร/ วิธีล้างมือ • เน้นคนกลุ่มเด็กหรือผู้ใหญ่

  16. ข้อ 4 กินอาหารผัก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด • ประเด็นคือ อาหารปลอดภัยและโภชนาการ • เป้าหมาย คือ กินอาหารปลอดภัยมีคุณค่า • ไม่กินตาม จะเกิดโรคอะไรบ้าง • รณรงค์ได้ทุกกลุ่มเป้าหมายแต่ปลูกฝังในกลุ่มเด็ก

  17. ข้อ 5 งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และสำส่อนทางเพศ • ประเด็น คือ สิ่งเสพติดและเพศศึกษา • เป้าหมาย คือ ละเลิกสิ่งเสพติดและมีทักษะด้านเพศศึกษา • ความรุนแรงต่อชีวิตถ้าไม่ปฏิบัติ • รณรงค์ในกลุ่มระดับประถมศึกษา

  18. ข้อ 6 สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว • ประเด็น คือ ความอบอุ่น • เป้าหมาย คือ สร้างภูมิคุ้มกันด้วยสายสัมพันธ์ • ผลร้ายที่เกิดจากล่มสลายของสถาบันครอบครัว • กลุ่มเป้าหมายมุ่งที่พ่อแม่ลูก

  19. ข้อ 7 ป้องกันอุบัติภัยด้วยไม่ประมาท • ประเด็น คือ อุบัติภัย • เป้าหมาย คือ ลดอุบัติเหตุ • ความรุนแรงถึงขั้นพิการและตาย • พ่อแม่เป็นตัวอย่างที่แก่ลูก

  20. ข้อ 8 ออกกำลังกายสม่ำเสมอตรวจสุขภาพประจำปี • ประเด็น คือ ออกกำลังกายและการขยับกาย • เป้าหมาย คือ การออกกำลังกายอยู่ในวิถีชีวิต • แรงจูงใจที่จับต้องได้ • รณรงค์ในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่

  21. ข้อ 9 ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส • ประเด็น คือ สุขภาพจิตที่ดี • เป้าหมาย คือ ลดเครียดเพิ่มอารมณ์ดี • สร้างแรงจูงใจด้านบวก • รณรงค์ในเด็กและพ่อแม่

  22. ข้อ 10 มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสรรค์สังคม • ประเด็น คือ การมีสำนึกสร้างสังคม • เป้าหมาย คือ เกิดจิตสำนึกต่อส่วนรวม • สร้างแรงจูงใจด้านบวก • รณรงค์ในเด็กและพ่อแม่

  23. ข้อจำกัดสุขบัญญัติในการสื่อสารข้อจำกัดสุขบัญญัติในการสื่อสาร • ไม่ใช่ Single Issue • มีหลายประเด็นซ่อนอยู่ในแต่ละข้อ • แต่ละข้อเน้นทั้งปริมาณและคุณภาพ • แต่ละประเด็นมีการสื่อสารต่างกัน

  24. ข้อจำกัดสุขบัญญัติในการสื่อสาร(ต่อ)ข้อจำกัดสุขบัญญัติในการสื่อสาร(ต่อ) • บางประเด็นเป็นนามธรรม สื่อสารยาก • บางประเด็นห่างไกลกลุ่มเป้าหมาย • การแบ่งกลุ่มเป้าหมายตามประเด็นยังไม่ชัด ยากต่อการสื่อสาร • กลุ่มเป้าหมายเด็ก และผู้ใหญ่จะสื่อสารต่างกัน

  25. สุขบัญญัติในโรงเรียน แนวคิด ให้ความรู้ รับรู้ / ยอมรับ ปฏิบัติ

  26. สุขบัญญัติไม่ได้มีไว้ให้ท่องจำสุขบัญญัติไม่ได้มีไว้ให้ท่องจำ • สุขบัญญัติไม่ใช่บทอาขยานแต่เรียนรู้แล้วปฏิบัติได้ • สุขบัญญัติไม่ได้วัดกันที่ทำคะแนนได้

  27. ผู้เรียนไม่รับรู้ว่าสำคัญและต้องปฏิบัติผู้เรียนไม่รับรู้ว่าสำคัญและต้องปฏิบัติ • การสื่อสารเน้นเฉพาะในห้องเรียน

  28. จุดประกาย/สร้างความตระหนักให้นักเรียน....จุดประกาย/สร้างความตระหนักให้นักเรียน.... • รับรู้ว่าเป็นความจำเป็น เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันที่จะต้องปฏิบัติ

  29. บูรณาการในการเรียนการสอนบูรณาการในการเรียนการสอน • ใน 8 กลุ่มสาระ • กิจกรรมนอกหลักสูตร

  30. สร้างสิ่งแวดล้อมให้.....สร้างสิ่งแวดล้อมให้..... • ให้ครบ 10 ข้อ • สอดรับกับการเรียนการสอน • เอื้อต่อการปรับพฤติกรรม

  31. วางแผนการสื่อสารเป็นระบบวางแผนการสื่อสารเป็นระบบ • จัดระบบการสื่อสารสุขบัญญัติในแต่ละข้อให้เหมาะกับวัยเด็กแต่ละชั้น • อย่าลืม!สุขบัญญัติคือสินค้านักเรียนคือผู้ซื้อ • คำถาม : จะขายของอย่างไรให้นักเรียนซื้อ?

  32. รูปแบบการสื่อสาร • ต้องหลากหลายน่าสนใจ • ส่งเสริมให้ค้นหานวัตกรรมการสื่อสารที่เข้าถึงเด็ก • สร้างบรรยากาศการสื่อสารให้เป็น Edutainment • เชื่อมโยงกับบ้านและองค์กรนอกโรงเรียน

  33. นำองค์ความรู้สู่การขับเคลื่อนนำองค์ความรู้สู่การขับเคลื่อน • ค้นหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ มาสื่อสาร • ส่งเสริม R+ D • พัฒนาศักยภาพครูผู้รับผิดชอบ

  34. สร้างแรงจูงใจในการขับเคลื่อนสร้างแรงจูงใจในการขับเคลื่อน • กำหนดบทบาทเพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วม • เปิดโอกาสให้มีอิสระในการทำกิจกรรม • จัด Event ประจำปี • ให้เกียรติ ครู/นักเรียนที่ปฏิบัติได้

  35. ประกวด ประกวด ๆ • ประกวดนวัตกรรมสุขบัญญัติแต่ละข้อที่ครู/นักเรียนสร้างขึ้น • ประกวดหนูน้อยสุขบัญญัติโดยแบ่ง 10 ประเภท

  36. มาตรการทาง สังคม • กำหนดโดยนักเรียน • มีรางวัลและบทลงโทษ • เผยแพร่ให้ทุกคนได้รับรู้

  37. ภาคีเครือข่ายคือ พลัง • ผู้ปกครอง ท้องถิ่น เอกชน • กำหนดบทบาทหนุนเสริม

  38. จุดหมายปลายทอง สุขบัญญัติสร้างคน คนสร้างชาติ

More Related