1 / 85

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply. ความยืดหยุ่น ( Elasticity ). การวัดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อหรือปริมาณขายสินค้าต่อการเปลี่ยนแปลงของ ตัวกำหนดปริมาณซื้อหรือปริมาณขายนั้น. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand).

Download Presentation

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

  2. ความยืดหยุ่น (Elasticity) การวัดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อหรือปริมาณขายสินค้าต่อการเปลี่ยนแปลงของตัวกำหนดปริมาณซื้อหรือปริมาณขายนั้น

  3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(Elasticity of Demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross Price Elasticity of Demand)

  4. % Q Ed = % P ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand : Ed ) • เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น

  5. วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่นวิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น • การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand) • การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Demand)

  6. ความยืดหยุ่น ณ จุด A เท่ากับ ? P Qเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด เมื่อ Pเพิ่มขึ้น B P1 : ราคาเดิม P2 : ราคาใหม่ Q1 : ปริมาณเดิม Q2 : ปริมาณใหม่ P2 A P1 Q Q2 Q1 การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด(Point Elasticity of Demand)

  7. % Q Ed = % P % Q ถ้าเดิม ปริมาณเท่ากับ Q1 ทำให้ Q = Q1 - Q2 ถ้าเดิม ปริมาณเท่ากับ 100 ทำให้ Q = Q1 - Q2 % Q x 100 Q1

  8. % Q = % P = Q1 - Q2 P1 - P2 x 100 x 100 Q1 P1

  9. % Q Ed = % P = Q1 - Q2 P1 - P2 Q1 - Q2 P1 x 100 x 100 = x Q1 P1 P1 - P2 Q1

  10. % Q Ed = % P Q1 - Q2 P1 Ed = x P1 - P2 Q1 Q2 - Q1 P1 Ed = x P2 - P1 Q1

  11. สมมติจะมีการจัดแสดงดนตรี ถ้าตั้งราคาบัตรไว้ที่ 250 บาท พบว่าจะสามารถขายบัตรได้ 600 บัตร แต่ถ้าเพิ่มราคาบัตรเป็น 350 บาท จะขายบัตรได้ 350 บัตร ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเท่ากับเท่าใด P1 : 250 บาท Q1 : 600 บัตร P2 : 350 บาท Q2 : 350 บัตร

  12. Q1 - Q2 P1 Ed = x P1 - P2 Q1 600 - 350 250 = x 250 - 350 600 250 250 = x 600 100 = 1.04

  13. Ed = ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงไป 1.04% ในทิศทางตรงข้าม ถ้าราคาเพิ่มขึ้น1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง1.04% ถ้าราคาลดลง1% จะทำให้ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น1.04% 1.04

  14. P B 350 A Ed = - 1.04 Ed = ? 250 600 350 Q

  15. P1 : 350 บาท Q1 : 350บัตร P2 : 250 บาท Q2 : 600 บัตร Q1 - Q2 P1 Ed = x P1 - P2 Q1 350 - 600 350 = x 350 - 250 350 350 250 = x 350 100 = 2.5

  16. P B 350 A Ed = - 1.04 Ed = - 2.5 250 600 350 Q

  17. % Q Ed = % P : เทียบการเปลี่ยนแปลงกับค่าเฉลี่ยของ P หรือ Q การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง(Arc Elasticity of Demand)

  18. % Q Q1 + Q2 เดิม Qเท่ากับ Q1ทำให้ Q = Q1 - Q2 2 เดิม Qเท่ากับ 100ทำให้ Q = Q1 - Q2 % Q x 100 Q1 + Q2 2

  19. % Q = % P = Q1 - Q2 P1 - P2 x 100 x 100 Q1 + Q2 P1 + P2 2 2

  20. % Q Ed = % P  = Q1 - Q2 P1 - P2 x 100 x 100 Q1 - Q2 P1+ P2 P1 + P2 Q1 + Q2 = x P1 - P2 Q1 + Q2 2 2

  21. % Q Ed = % P Q1 - Q2 P1+ P2 x Ed = P1 - P2 Q1 + Q2

  22. สมมติจะมีการจัดแสดงดนตรี ถ้าตั้งราคาบัตรไว้ที่ 250 บาท พบว่าจะสามารถขายบัตรได้ 600 บัตร แต่ถ้าเพิ่มราคาบัตรเป็น 350 บาท จะขายบัตรได้ 350 บัตร ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเท่ากับเท่าใด P1 : 250 บาท Q1 : 600 บัตร P2 : 350 บาท Q2 : 350 บัตร

  23. Q1 - Q2 P1+ P2 600 - 350 250 + 350 = x Ed = x 250 - 350 P1 - P2 600 + 350 Q1 + Q2 600 250 = x 950 100 = 1.58

  24. Ed = ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงไป 1.58%โดยเฉลี่ย ในทิศทางตรงข้าม ถ้าราคาเพิ่มขึ้น1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง1.58%โดยเฉลี่ย ถ้าราคาลดลง1% จะทำให้ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น1.58%โดยเฉลี่ย 1.58

  25. P1 : 350 บาท Q1 : 350บัตร P2 : 250 บาท Q2 : 600 บัตร Q1 - Q2 P1+ P2 x Ed = P1 - P2 Q1 + Q2 350 - 600 350 + 250 600 250 = x = x 350 - 250 350 + 600 950 100 = 1.58

  26. P B Ed = - 1.58 350 A 250 600 350 Q

  27. P อุปสงค์ต่อบัตรดนตรี (P x Q) 350 รายรับของผู้ขาย = 350 x 350 (TR) B = 122,500 ผู้บริโภคจ่าย ? = 122,500 350 D Q ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย

  28. % Q Ed = % P ถ้า % Q >% P  Ed  > 1 ถ้า % Q <% P  Ed  < 1 ถ้า % Q =% P  Ed  = 1 ถ้า % Q = 0   Ed  = 0 ถ้า % P = 0   Ed  =  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย

  29. Price Elasticity of Demand

  30. % Q >% P P P TR = = P Q TR P Q TR x x 5 4 Q 100 50 1.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก(Elastic Demand ; 1 <Ed<)

  31. % Q <% P P P TR = P Q TR x 5 = P Q TR x 4 Q 100 90 2.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อย(Inelastic Demand ; 0 < Ed <1)

  32. % Q =% P P P TR คงที่ 400 บาท 5 400 บาท 4 Q 100 80 3.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่(Unitary Elastic Demand ;  Ed =1)

  33. % P = 0 P TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณซื้อ D 4 Q 50 100 4.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด(Perfectly Elastic Demand ; Ed=)

  34. % Q = 0 P D TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคา 5 4 Q 100 5.อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด(Perfectly Inelastic Demand ; Ed=0)

  35. สรุป

  36. กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง ค่าความยืดหยุ่นจะไม่เท่ากันทุกจุด P B 350 A Ed = - 1.04 Ed = - 2.5 250 600 350 Q

  37. A กำหนดให้ C เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง AB ถ้าเดิมราคา OP เพิ่มขึ้นเป็น OA ความยืดหยุ่น ณ จุด C เท่ากับ ? P C P 0 Q B P1 = OP Q1 = OQ P2 = OA Q2 = O Q

  38. A P C Q1 - Q2 % Q P1 P = Ed = x P1 - P2 % P Q1 OQ - O OP = x OP - OA 0 Q B OQ OP OQ = x OQ AP OP = Q AP

  39. OP Ed = A AP CQ P C Ed = P AP 0 Q B และ เป็นสามเหลี่ยมคล้าย APC APC BC BQ CQ = = = 1 AC PC AP Q

  40. A CQ P Ed = P จาก C AP BC = –1 = 0 Q B AC BC = 1 Ed = Edณ จุด C AC BC BQ CQ = = = 1 AC PC AP Q

  41. Edณ จุด M = ? A O AB BM BN N =  <1 >1  Ed  =  Ed  =  Ed  =  Ed  = = 0 P AB AM O AN M ณ จุด N 0 B ณ จุด A ณ จุด B Q

  42. 1 < Ed <  P P TR Ed =1 Ed =0 Ed = 0 < Ed < 1 0 Q

  43. 1 < Ed <  P P TR Ed =1 Ed =0 Ed = 0 < Ed < 1 0 Q

  44. ลักษณะของสินค้าที่มีผลต่อความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาลักษณะของสินค้าที่มีผลต่อความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา

  45. สินค้าชนิดที่ 1Ed= - 5 สินค้าชนิดที่ 2Ed= - 2 Edสินค้า 1>Edสินค้า 2 ถ้าราคาสินค้า 1 และ 2 มีการเปลี่ยนแปลงในสัดส่วนที่เท่ากันแล้ว สินค้าชนิดที่ 1 จะมีสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของ Q มากกว่าสินค้าชนิดที่ 2 Q1 P Q2

  46. สินค้า ก : Ed =0.8 Ed ของ ก >Edของ ข สินค้า ข : Ed =0.4 สินค้า ก : Ed =2 Ed ของ ก <Edของ ข สินค้า ข : Ed =4

  47. 1.สินค้าที่จำเป็นและสินค้าที่ฟุ่มเฟือย1.สินค้าที่จำเป็นและสินค้าที่ฟุ่มเฟือย Edจำเป็น Edฟุ่มเฟือย < Qจำเป็น P Qฟุ่มเฟือย ลักษณะของสินค้าที่มีผลต่อความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา

  48. 2.สินค้านั้นมีเปอร์เซ็นต์ของรายได้ที่ผู้บริโภคใช้จ่ายมากหรือน้อย2.สินค้านั้นมีเปอร์เซ็นต์ของรายได้ที่ผู้บริโภคใช้จ่ายมากหรือน้อย ราคาเพิ่มขึ้นเป็น 10 บาท ดินสอ ราคา 5 บาท ราคาเพิ่มขึ้น 100% Q%น้อย เพิ่มขึ้นเป็น 600,000 บาท รถยนต์ 300,000 บาท Q%มาก ราคาเพิ่มขึ้น 100% Edราคาสูงเทียบกับรายได้ Edราคาต่ำเทียบกับรายได้ >

  49. 3.สินค้าเสียหายง่ายและสินค้าคงทนถาวร3.สินค้าเสียหายง่ายและสินค้าคงทนถาวร Edเสียหายง่าย Edคงทนถาวร < ซ่อมแซมของเดิม Qคงทน Qเสียหายง่าย P

  50. 4.สินค้านั้นหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ง่ายหรือยาก4.สินค้านั้นหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ง่ายหรือยาก Edทดแทนง่าย Edทดแทนยาก > หันไปซื้อสินค้าทดแทน Qทดแทนง่าย Qทดแทนยาก P

More Related