1 / 29

ผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรปต่ออุตสาหกรรมไก่ของไทย ( พ.ศ. 2536-2549)

ผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรปต่ออุตสาหกรรมไก่ของไทย ( พ.ศ. 2536-2549). กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด. วัตถุประสงค์ของการศึกษา. เพื่อศึกษามาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีที่สำคัญของสหภาพยุโรปต่อการส่งออกเนื้อไก่ของไทย

Download Presentation

ผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรปต่ออุตสาหกรรมไก่ของไทย ( พ.ศ. 2536-2549)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรปต่ออุตสาหกรรมไก่ของไทย(พ.ศ.2536-2549)ผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรปต่ออุตสาหกรรมไก่ของไทย(พ.ศ.2536-2549) กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด

  2. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อศึกษามาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีที่สำคัญของสหภาพยุโรปต่อการส่งออกเนื้อไก่ของไทย • เพื่อศึกษาผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรป ต่อภาคการส่งออกอุตสาหกรรมไก่ของไทย • เพื่อศึกษาถึงผลกระทบของมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรป ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมไก่ต่อบริษัท : กรณีศึกษาบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ในฐานะที่เป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ของไทย • เพื่อศึกษาถึงการปรับตัวต่อมาตรการของบริษัทกรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ จำกัด(CPF) • เพื่อศึกษาว่าหลังจากที่สหภาพยุโรปมีมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีมากขึ้นแล้ว หน่วยงานของรัฐและเอกชนจะมีบทบาทในด้านการให้ความช่วยเหลืออย่างไร

  3. EU เปลี่ยนเปอร์เซ็นปริมาณ เกลือในเนื้อไก่หมักเกลือ EU รวมตัวกันครบ 25 ประเทศ กำหนดโควต้าภาษี พบสารNitrofurans และ Chloramphenical ค่าเงินบาทอ่อนตัว EUออก White Paper Animal Welfare วิกฤตไข้หวัดนก มีสารหนูตกค้างในเนื้อไก่ ที่ประเทศเชค เริ่มส่งออกไก่ปรุงสุก และไก่แปรรูป EU รวมตัวกันครบ 15 ประเทศ วิกฤตโรควัวบ้า ในประเทศอังกฤษ โรคซาร์ระบาดใน Hong Kong Thai Broiler History MT เริ่มการส่งออกที่ 163 ล้านตัน ขอขอบคุณ สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย ; คุณกำจัด ชัยมณี Source : Thai Broiler Processing Exporters Association

  4. อัตราการขยายตัวของสินค้าส่งออกโดยรวมของไทยช่วงปี พ.ศ.2537 – 2549(ม.ค.-ต.ค.) ที่มา ;http://www.ops2.moc.go.th

  5. ปริมาณการส่งออกเนื้อไก่แช่แข็งของไทยไปประเทศต่างๆ ในสหภาพยุโรปปีพ.ศ. 2541 – 2544 ที่มา ;http://www.ops2.moc.go.th

  6. ปริมาณการส่งออกไก่แปรรูปไปยังประเทศสำคัญในสหภาพยุโรปพ.ศ.2545 - 2549

  7. ตลาดส่งออก ไก่แปรรูป 15 ประเทศแรกของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ

  8. ทางตรง ( Direct ) - นโยบายการเกษตรร่วม ( Common Agricultural Policy ) - การรวมตัวยุโรปตะวันตกเข้ากับยุโรปตะวันออก ทางอ้อม ( Indirect ) - ข้อตกลงภายใต้ WTO - ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สาเหตุของการทวีความรุนแรงในการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี

  9. ความตกลงภายใต้องค์การการค้าโลกความตกลงภายใต้องค์การการค้าโลก • การลดการอุดหนุน • การเปิดตลาด • ความตกลงว่าด้วยมาตรการด้านสุขอนามัย (Agreement on Sanitary and Phytosanitary Measures) 4. ความตกลงว่าด้วยการค้าและสิ่งแวดล้อม *

  10. การกำหนดโควตานำเข้า มาตรการด้านปริมาณ (Quantitative Measures) มีวัตถุประสงค์เพื่อจำกัดปริมาณการนำเข้าเนื้อไก่ที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรป ผลกระทบเกิดกับเกษตรกรและผู้ประกอบการผลิตเนื้อไก่ส่งออกโดยตรง ต้องลดปริมาณการผลิตโดยการทำลายไก่ที่เลี้ยงรุ่นลูก เพื่อประหยัดต้นทุน มาตรการทางสุขอนามัย((Sanitary and Phytosanitary Measures : SPS) ) มาตรการด้านคุณภาพ (Qualitative Measures) มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องชีวิต และสุขภาพมนุษย์ สัตว์ และพืช เพื่อสร้างความมั่นใจต่อความปลอดภัยด้านอาหาร เมื่อประเทศคู่ค้านำมาใช้กีดกันสินค้าจะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ทางการค้าของประเทศ และเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต กรณีที่สาธารณรัฐเชคสั่งห้ามนำเข้าเนื้อไก่จากไทยเพราะมีการตรวจพบสารหนู กรณีที่สหภาพยุโรปมีการตรวจเชื้อ Vancomycin Resistant Enterococcus: VRE จากไก่ที่นำเข้าจากไทย การดำเนินมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีของสหภาพยุโรปต่อผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ส่งออกที่สำคัญ ได้แก่

  11. - ผลกระทบโดยรวมต่อศักยภาพการส่งออกของไทย - • มาตรการSPSทำให้ไทยต้องควบคุมเรื่องสารตกค้าง และความสะอาดมากขึ้น โดยเฉพาะอาหารสัตว์ และยารักษาโรค • ลักษณะการส่งออกเปลี่ยนเป็นการส่งออกไก่แปรรูปมากขึ้น ตั้งแต่พ.ศ.2547 เป็นต้นมา เนื่องจากวิกฤตไข้หวัดนก • มาตรการโควตาภาษี จะทำให้อุตสาหกรรมไก่แปรรูปหยุดการเติบโต • ไก่แปรรูป/ไก่ปรุงสุก230,473 ตัน/ปีอัตราภาษีนำเข้าในโควตา 10.9% และนอกโควตา 1,024 ยูโร/ตัน (คิดเป็น54%) • ไก่หมักเกลือ264,437 ตัน/ปี ภาษีนำเข้าในโควตา 15.4% นอกโควตาจะเสียภาษีนำเข้า 1,300 ยูโร/ตัน

  12. ปริมาณการส่งออกเนื้อไก่แช่แข็งของประเทศไทยพ.ศ. 2540 – 2547 (หน่วย:ตัน)

  13. กรณีศึกษาบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด( CPF )

  14. Q:ทำไมเลือก CPF เป็นกรณีศึกษา ? ANSWER : - CPF เป็นผู้ส่งออกในอุตสาหกรรมไก่รายใหญ่ที่มี market shareในตลาดนำเข้าของสหภาพยุโรปคิดเป็น 50-60% - เนื่องจากCPF เป็นองค์กรที่มีศักยภาพ เป็นที่รู้จักและมีความน่าเชื่อถือทั้งในประเทศและต่างประเทศ - เนื่องจาก CPFให้ความสำคัญกับการเลี้ยง และการผลิตที่มีคุณภาพ เป็นเหตุให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าของบริษัท

  15. จุดแข็ง (S) - คุณภาพของผลิตภัณฑ์ - มีคู่ค้าที่มีมาตรฐาน - มีเงินทุนหนา - ยอมรับฟังคำติชมและปรับปรุง - มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ การวิเคราะห์บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัดแบบ SWOT Analysis • จุดอ่อน (W) - Internal communication - Skill of labors - Made by order - ขาดบุคลากรด้านเทคนิคและวิจัย

  16. อุปสรรค (T) มีมาตรการใหม่ๆ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา จึงทำให้บริษัทต่างๆ ต้องหาวิธีการรับมือกับมาตรการเหล่านั้นให้ได้ เพื่อทำลายกำแพงปัญหาต่างๆ และเพื่อเพิ่มความสามารถให้การแข่งขันในการส่งออก เนื่องจากมีการรวมตัวกันของยุโรปตะวันตกและตะวันออก มีการปรับลดค่าแรงลงค่อนข้างมาก และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะใกล้เคียงกับประเทศที่สาม ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ EUนำเข้าเนื้อไก่น้อยลง โอกาส (O) - เนื่องจากอุตสาหกรรมเนื้อไก่ เป็นอุตสาหกรรมที่มี supply chain ยาวมาก จึงมีการทำ value added ใน material ขึ้น - การพัฒนาบุคลากรเป็นการก่อให้เกิด win-win strategies การวิเคราะห์บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัดแบบ SWOT Analysis

  17. มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีที่ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด เผชิญจากประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป • มาตรการทางด้านเทคนิค (Technical) • Animal’s welfare • มาตรการทางด้านการตลาด (Marketing) • การทำpackaging • ปัจจัยอื่นๆ เช่น ปัจจัยทางการเมือง (Political)

  18. ผลกระทบของมาตรการการกีดกันการค้าที่มิใช่ภาษีต่อผู้ประกอบการ(CPF)ผลกระทบของมาตรการการกีดกันการค้าที่มิใช่ภาษีต่อผู้ประกอบการ(CPF) • ต้นทุนสูงขึ้น เนื่องจากการมีวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีดีขึ้น • มีการลงทุนผลิตสินค้าในอุตสาหกรรมไก่แปรรูปมากขึ้น • การผลิตสินค้า มีการทำ value addedมากขึ้น • เริ่มลดการผลิตแบบmade by orderมาเป็นการพยายามสร้างbrandที่เข้มแข็ง • พยายามพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้มากขึ้น โดยเน้นพัฒนาคุณภาพการผลิตต่อคนให้สูงขึ้น และเร่งพัฒนามาตรฐานการผลิตในเครือข่ายองค์กรให้เท่าเทียมกันมากขึ้น

  19. องค์กรที่เกี่ยวข้องในส่วนของการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการองค์กรที่เกี่ยวข้องในส่วนของการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประกอบการ • กรมปศุสัตว์ (Department of Livestock Development; DLD) • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (Department of Trade Negotiation ; DTN) • สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย (Thai Broiler Processing Exporters Association)

  20. กรมปศุสัตว์ • พิจารณาด้านการออกใบรับรองที่เป็นมาตรฐานคุณภาพ - ด้านผลิตภัณฑ์ - ด้านกระบวนการผลิต - การบริหารจัดการและดูแลฟาร์มเลี้ยง • หน่วยงานภาครัฐที่สำคัญที่ช่วยเหลือในด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์ปีกโดยตัวกลางในการร่วมมือกับต่างประเทศ ซึ่งมีการนำวิวัฒนาการใหม่ๆมาใช้ เพื่อให้ผู้ประกอบการในประเทศตื่นตัว

  21. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ • หน่วยงานภาครัฐที่สำคัญในด้านการเจรจาต่อรองกับประเทศคู่ค้าซึ่งอาจอยู่ในรูปการเจรจาโดยตรง หรือเจรจาผ่านองค์การการค้าโลก(WTO) • เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับประเทศคู่ค้าให้แก่ผู้ประกอบการ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวตามสภาวการณ์นั้นๆได้ เช่น • มาตรการโควตานำเข้า

  22. สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทยสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย • เป็นองค์กรอิสระที่รวมตัวขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมการส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์จากไก่ • เป็นตัวกลางในการเจรจาระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน • CPF and Fringe firms; ภาพลักษณ์ของประเทศไทย

  23. สรุปสถานการณ์ของอุตสาหกรรมการส่งออกเนื้อไก่สรุปสถานการณ์ของอุตสาหกรรมการส่งออกเนื้อไก่

  24. สัดส่วนการเปลี่ยนแปลงการส่งออกในสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงการส่งออกใน อุตสาหกรรมไก่ MT 546,000 MT. Bird Flu Shock 163 ไก่สดแช่แข็ง ไก่แปรรูป Source : Thai Broiler Processing Exporters Association

  25. แนวโน้มของอุตสาหกรรมการส่งออกเนื้อไก่ในอนาคตแนวโน้มของอุตสาหกรรมการส่งออกเนื้อไก่ในอนาคต • Animals’ welfare • - การพัฒนาด้านการผลิตของประเทศฝั่งยุโรปตะวันออก • - ความหลากหลายของตลาดส่งออกไก่ของ CPF

  26. ..ThaNk yOu.. the END

  27. ความสำคัญทางการค้าเนื้อไก่ระหว่างไทยและสหภาพยุโรปความสำคัญทางการค้าเนื้อไก่ระหว่างไทยและสหภาพยุโรป • เป็นตลาดการส่งออกเนื้อไก่รายใหญ่ของไทย ด้วยโครงสร้างของการผลิตในประเทศที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างเพียงพอ • มีปริมาณและมูลค่าการส่งออกสูงที่สุดเมื่อเทียบกับการส่งออกทั้งหมดของประเทศ • มีอัตราการขยายตัวทางการค้า โดยส่วนแบ่งในตลาดสหภาพยุโรป ในปี 2537 เป็น 1.54 % เมื่อเทียบกับปี 2543 เพิ่มขึ้นสูงถึง 3.05%

  28. ภาพที่เห็นเป็นภาพการพัฒนาโรงเรือนอัจฉริยะนำร่องเมื่อปี 2545 ที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ต่อยอดจากโรงเรือนปิด โดยโรงเรือนอัจฉริยะนี้จะอาศัยเซ็นเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ ควบคุมระบบให้น้ำและอาหาร ปรับแสงสว่าง อุณหภูมิและความชื้น พร้อมด้วยระบบบันทึกน้ำหนักไก่อัตโนมัติ ควบคุมการทำงานโดยซอฟต์แวร์ ขณะเดียวกันยังสกัดกั้นสิ่งก่ออันตรายจากภายนอกได้มากที่สุด รวมถึงไวรัส H5N1ได้เสมือน "เซฟเฮาส์" สำหรับสัตว์ปีก สมกับที่เครือเจริญโภคภัณฑ์ประกาศเจตนารมณ์ที่จะก้าวสู่ฐานะ “ครัวของผู้บริโภคทั่วโลก”(Kitchen of the world)

More Related