1 / 30

HRD Project Planning Monitoring and Evaluation Design the project process

HRD Project Planning Monitoring and Evaluation Design the project process. อ.ดร. จุฑามาศ แก้วพิจิตร คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 13/15 July 2009. Today’s Agenda. 2. 3. การบริหารโครงการกับผลงานขององค์การ. การบริหารโครงการกับการพัฒนาองค์การ.

cloris
Download Presentation

HRD Project Planning Monitoring and Evaluation Design the project process

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. HRD Project Planning Monitoring and Evaluation Design the project process อ.ดร. จุฑามาศ แก้วพิจิตร คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 13/15 July 2009

  2. Today’s Agenda 2

  3. 3

  4. การบริหารโครงการกับผลงานขององค์การการบริหารโครงการกับผลงานขององค์การ

  5. การบริหารโครงการกับการพัฒนาองค์การการบริหารโครงการกับการพัฒนาองค์การ ความสำคัญของการบริหารจัดการกลยุทธ์ของโครงการในองค์การ และการเพิ่มขึ้นของความต้องการที่จะบูรณาการโครงการกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงค่านิยมของพอตเตอร์ ซึ่งเพิ่มขึ้นโดยจะเห็นได้จากกิจกรรมขององค์การที่มีจำกัดซึ่งขึ้นอยู่กับรากฐานขององค์การ หรือชนิดผลิตภัณฑ์ ด้วยมุมมองการสร้างสรรค์คุณค่าซึ่งตอนนี้ได้แสดงออกมาในวรรณกรรมของกลยุทธ์ เชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาแบบใหม่และแสดงให้เห็นการปฏิบัติทางธุรกิจ ในส่วนนี้เป็นการค้นหาเพื่อแสดงให้เห็นถึงหนึ่งในรายละเอียดซึ่งเป็นผลงานชิ้นล่าสุด ริชาร์ด นอร์แมน เสนอถึงพื้นฐานของมุมมองด้านใหม่ในการทำโครงการทางธุรกิจ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มล่าสุดของนอร์แมน ว่ามุมมองใหนควรที่จะนำมาใช้นั้นไม่ได้มีการอ้างถึงการทำการบริหารจัดการโครงการอย่างไรก็ตาม ผลงานของนอร์แมนก็มีส่วนเกี่ยวข้อกอย่างยิ่งกับมุมมองที่สามารถนำไปใช้ได้ในโครงการธุรกิจ

  6. ความสัมพันธ์ ระดับที่ 2 ความสัมพันธ์ ระดับแรก ความสัมพันธ์ ระดับแรก ความสัมพันธ์ ระดับที่ 2 เรา โครงการธุรกิจ ลูกค้า ลูกค้า ลูกค้าของลูกค้า ลูกค้าของลูกค้า มุมมองแบบเก่า มุ่งเน้นที่สินค้า มุมมองแบบใหม่ มุ่งเน้นที่คุณค่า 6

  7. โครงการธุรกิจ การดำเนินงาน คุณค่า/ประโยชน์ ทำไม อะไร อย่างไร การปฏิบัติ ทรัพยากร ความสัมพันธ์ ระดับแรก ความสัมพันธ์ ระดับที่ 2 โครงการธุรกิจ การให้บริการ ลูกค้าของบริษัท มุ่งเน้นที่สินค้า มุ่งเน้นที่คุณค่า การบริหารโครงการกับผลงานขององค์การ 7

  8. มุมมองของโครงการแบบเก่านั้นจะมุ่งเน้นให้เกิดผลการทำงานให้เร็วที่สุดแต่โครงการในปัจจุบันนั้นแตกต่างออกไปซึ่งต้องการความร่วมมือระหว่างกระบวนการที่แตกต่างกัน การเปรียบเทียบสามารถเกิดขึ้นได้จากระบบชีววิทยา ในสุขภาพร่างกายที่ดี หัวใจ ปอด ไต และวงจรต่างๆ ต้องทำงานไปพร้อมกัน ถ้าเราเริ่มต้นด้วยการวิ่ง หัวใจของเราก็เต้นเร็วขึ้น ส่วนต่างๆ ของร่างกายก็จะตอบสนองตามไปด้วย มันเป็นส่วนสำคัญที่มีค่าเมื่อคนต้องทำงานด้วยกัน การดำเนินงานเป็นสิ่งที่เสริมเข้ามาเพื่อทำให้ส่วนหนึ่งนั้นทำกิจกรรมพร้อมกันหรือเข้ากันได้กับอีกส่วนหนึ่ง

  9. Framework for Project Planning & Evaluation What do you want to know? How will you know it? EVALUATION: check and verify

  10. PMBOK Guide - Project Management Institute (Duncan 1996), 2004 ICB : IPMA Competence Baseline – International Project Management Association (IPMA1999) APM BOK/CRMP BOK – Association for Project Management (UK) (Morris 2000)

  11. องค์ประกอบของการจัดการโครงการองค์ประกอบของการจัดการโครงการ • การจัดการบูรณาการโครงการ • การพัฒนาแผนโครงการ • การบริหารแผนโครงการ • การควบคุมการเปลี่ยนแปลงรอบด้าน • การจัดการขอบเขตโครงการ • การเริ่มต้น • การวางแผนขอบเขต • การกำหนดขอบเขต • การตรวจสอบขอบเขต • การควบคุมการเปลี่ยนแปลงขอบเขต • การจัดการทีมโครงการ • การกำหนดกิจกรรม • การติดตามผลกิจกรรม • การประเมินระหว่างกิจกรรม • การพัฒนาตารางกิจกรรม • การควบคุมตารางกิจกรรม • การจัดการต้นทุนโครงการ • การจัดการทรัพยากร • การประมาณต้นทุน • งบประมาณต้นทุน • การควบคุมต้นทุน • การจัดการทรัพยากรมนุษย์โครงการ • การวางแผนองค์การ • การได้มาซึ่งพนักงาน • การพัฒนาทีม • การจัดการคุณภาพโครงการ • การจัดการคุณภาพ • การประกัน/รับรองคุณภาพ • การควบคุมคุณภาพ • การจัดการการสื่อสารโครงการ • การวางแผนการสื่อสาร • การกระจายข้อมูลข่าวสาร • การรายงานผลการปฏิบัติงาน • การยกเลิกการบริหารจัดการ • การจัดการการจัดหาโครงการ • การวางแผนกระบวนการ • การวางแผนให้น่าสนใจ • การล่อใจ • การเลือกทรัพยากร • การบริหารสัญญาข้อตกลง • การยกเลิกสัญญา • การจัดการความเสี่ยงโครงการ • การระบุความเสี่ยง • ปริมาณความเสี่ยง • การพัฒนาตอบรับความเสี่ยง • การควบคุมกับความเสี่ยง PMBOK

  12. ตัวอย่างของความรู้ที่ Project Manager ควรมีในการทำโครงการ

  13. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  14. อำนาจ 1. Stakeholder ที่นิ่งเฉย ความชอบธรรม 4. Stakeholder ที่มีอิทธิพลเหนือ 5. Stakeholder ที่ตัดสินใจด้วยตนเอง 7. Stakeholder ที่เด็ดขาด 5. Stakeholder ที่มีอันตราย 6. Stakeholder ที่ต้องพึ่งพา 3. Stakeholder ที่มีความต้องการ 8. ผู้ที่ไม่ใช่ Stakeholder ความเร่งด่วน

  15. Stakeholder salience theory • Stakeholders ประเภทสงบเงียบมีอำนาจที่จะกำหนดความต้องการในบริษัทแต่ ด้วยความที่ไม่มีความสัมพันธ์อันชอบธรรม หรือการเรียกร้องที่เร่งด่วน อำนาจของเขาก็ยังไม่ถูกนำมาใช้ • Stakeholders ประเภทที่จะตัดสินเรื่องต่างๆ ด้วยตนเองจะมีความชอบธรรม แต่ไม่มีอำนาจที่จะมีอิทธิพลต่อบริษัทและไม่เร่งร้อนที่จะร้องขอด้วย ไม่มีแรงกดดันที่จะเข้าร่วมในความสัมพันธ์กับ Stakeholders • Stakeholders ประเภทที่มีความต้องการ มีข้อเรียกร้องที่เร่งด่วนแต่ไม่มีทั้งความชอบธรรมและอำนาจ • Stakeholders ประเภทที่มีอำนาจเหนือ มีทั้งอำนาจและความชอบธรรม อิทธิพลของพวกเขาในความสัมพันธ์ถูกทำให้มีความแน่นอน เนื่องจากอำนาจของตัวเองและความชอบธรรมที่พวกเขาได้รับจากผู้สนับสนุนการมีอำนาจ

  16. Stakeholder salience theory • Stakeholders ประเภทที่ต้องพึ่งพาเป็นคุณลักษณะที่ขาดอำนาจ แต่มีความเร่งด่วนและการอ้างความชอบธรรม Stakeholders ประเภทนี้จะขึ้นอยู่กับคนอื่นเพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตนเองต้องการ อำนาจในความสัมพันธ์ของพวกเขาไม่สามารถแทนกันได้และได้รับการสนับสนุนผ่านคุณค่าของคนอื่น • Stakeholders ประเภทที่อันตรายเป็นเจ้าของความเร่งด่วนและอำนาจแต่ไม่มีความชอบธรรมและอาจบังคับหรือเป็นอันตราย บ่อยครั้งการใช้อำนาจบังคับไปด้วยกันกับสถานะที่มีความชอบธรรม • Stakeholders ประเภทที่เด็ดขาดเป็นเจ้าของอำนาจที่ชอบธรรมและความเร่งด่วนและ ไม่ว่า Stakeholders คนไหนก็สามารถมาเป็นแบบเด็ดขาดได้โดยการได้รับลักษณะหายไป • ไม่ใช่ Stakeholders ไม่มีลักษณะใดๆ เลย ดังนั้น ไม่มีลักษณะความสัมพันธ์กับกลุ่ม องค์การหรือโครงการ

  17. JOB –TASK COMPETENCY MODEL

  18. Vertical Logic

  19. Vertical Logic

  20. การตอบสนองของระบบ กลุ่มปัจจัย กลุ่มปัจจัย • ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้จัดการโครงการ • ความสามารถในการมอบหมายอำนาจ • ความสามารถในการแลกเปลี่ยน • ความสามารถในการประสานงาน • การรับรู้บทบาทและความรับผิดชอบของผู้จัดการ • ขีดความสามารถ • ความผูกพัน • สมาชิกทีมโครงการ • ประสบการณ์ด้านเทคนิค • ทักษะการสื่อสาร • การแก้ปัญหา • ความผูกพัน การยอมรับ และให้คำปรึกษาต่อลูกค้า • ผลการดำเนินงานของผู้จัดการโครงการ • การวางแผนและการกำหนดตารางเวลาที่มีประสิทธิภาพ • การประสานงานและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ • การใช้ทักษะในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ • การควบคุมและดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ • การใช้เทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพ • ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอก • สภาพแวดล้อมทางการเมือง • สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ • สภาพแวดล้อมทางสังคม • สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี • ธรรมชาติ • ลูกค้า • คู่แข่งขัน • ผู้รับเหมาย่อย • ปัจจัยที่เกี่ยวกับโครงการ • ขนาด และมูลค่า • ความไม่มีเอกลักษณ์ในกิจกรรมโครงการ • ความหนาแน่นของโครงการ • วงจรอายุ • ความรีบเร่ง การประมาณการโครงการเบื้องต้น การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ (คน, เงิน, วัตถุดิบ, สิ่งอำนวยความสะดวก) • ปัจจัยที่เกี่ยวกับองค์กร • การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง • โครงสร้างองค์กรของโครงการ • การสนับสนุนของผู้จัดการตามหน้าที่ • ผู้ชนะเลิศของโครงการ สำเร็จ หรือ ล้มเหลว ภาพที่ 1 ปัจจัยที่วิเคราะห์ความสำเร็จหรือล้มเหลวของโครงการ

  21. Project Life cycle

  22. Critical Path Method

  23. Project Life cycle

More Related