1 / 63

BOE

BOE. แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (เชิงรับ). แสงโฉม เกิดคล้าย สำนักระบาดวิทยา. sangchom@health.moph.go.th. BOE. BOE. Surveillance – Rapid – Response - Team. SRRT. Public - Health – Emergency - Response. PHER. Public - Health – Intelligence.

bunny
Download Presentation

BOE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. BOE แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (เชิงรับ) • แสงโฉม เกิดคล้าย สำนักระบาดวิทยา sangchom@health.moph.go.th

  2. BOE BOE Surveillance – Rapid – Response - Team SRRT Public - Health –Emergency - Response PHER Public - Health – Intelligence PHI Policy 2547-2551

  3. BOE การเฝ้าระวังโรค ????? การติดตาม สังเกต พิจารณา เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการเกิด การกระจายและปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ ของการเกิดโรคและภัย เป็นระบบ ต่อเนื่อง รวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผล กำหนดมาตรการป้องกันควบคุม เตือนภัย Sangchom.2550 epi.

  4. BOE การเฝ้าระวังเชิงรับ(Passive Surveillance) การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ( communicable Disease Sur.) การเฝ้าระวังโรคเอดส์และวัณโรค(Aids,STD and TB Sur.) การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ(Injury Surveillance) การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม(Occ and Env. Disease Sur.)

  5. BOE การเฝ้าระวังเชิงรุก( Active Surveillance) การเฝ้าระวังสิ่งคุกคามสุขภาพในโรงงาน การเฝ้าระวังโรคพิษตะกั่ว ในโรงงานผลิตแบตเตอรี่ การเฝ้าระวังโรคซิลิโคซิสในโรงงานโม่หิน การเฝ้าระวังโรคพิษแคดเมียม ในชุมชน

  6. BOE การเฝ้าระวังจากแหล่งข้อมูลสุขภาพอื่น ๆ • ข้อมูลการป่วย ตาย จากสถานพยาบาล • ข้อมูลการตายจากใบมรณะบัตร • ข้อมูลการตรวจคัดกรองผู้ป่วย • ข้อมูลการสำรวจด้านสุขภาพ • ข้อมูลจากกองทุนเงินทดแทน

  7. BOE การเฝ้าระวังจากแหล่งอื่น ๆ การเฝ้าระวังจากสื่อต่างๆ การเฝ้าระวังจากเหตุร้องเรียน การเฝ้าระวังจากสภาพแวดล้อม

  8. BOE • มีการรายงานข้อมูลโรคและสิ่งคุกคามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ • แสดงสถานการณ์และแนวโน้มของปัญหาและโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • สามารถอธิบายลักษณะ สถานที่ เวลา กลุ่มเสี่ยง ของการเกิดโรค สภาวะการเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้

  9. BOE โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational diseases) ผู้ปฏิบัติงาน คนงาน การได้รับสัมผัสสิ่งคุกคาม สภาวะการทำงานที่ไม่เหมาะสม ขณะทำงาน เลิกงาน หรือภายหลังที่ ออกจากงาน

  10. โรคจากสิ่งแวดล้อม(Environmental diseases) BOE กลุ่มคนทั่วไป ทุกวัย การได้รับสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพ จากสภาวะสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมทุกเวลา

  11. BOE

  12. BOE กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1. โรคปอดและทางเดินหายใจ 2. โรคเหตุสภาวะทางกายภาพ 3. โรคผิวหนัง 4. โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ 5. พิษจากสัตว์ 6. พิษจากพืช 7. โรคพิษโลหะหนัก 8. โรคพิษสารระเหยและสารละลาย 9. โรคพิษจากก๊าซ 10. โรคพิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมีอื่นๆ 11. โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ

  13. กลุ่มโรคปอดและระบบหายใจกลุ่มโรคปอดและระบบหายใจ BOE โรคฝุ่นหิน ( J62.8) โรคฝุ่นฝ้าย ( J66) โรคใยหิน ( J61) โรคหืดเหตุอาชีพ ( J45) เหตุสภาวะทางกายภาพ หูเสื่อมเหตุเสียงดัง (H83.3) โรคเหตุลดความกดอากาศ (T70.3) ภาวะการขาดออกซิเจน (T71) การเจ็บป่วยเหตุความร้อน (T67.0) ภาวะเป็นลมจากความร้อน (T67.1) ตะคริวจากความร้อน (T67.2)

  14. BOE ปวดหลังเหตุอาชีพ(M545, M548) โรคพิษจากสัตว์ พิษจากงู ( T63.0) พิษจากสัตว์เลื้อยคลานอื่นๆ (T63.1) พิษแมงป่อง (T63.2) พิษแมงมุม (T63.3) พิษต่อหัวเสือ,,,,,,,,,,,,,

  15. โรคผิวหนังจากการสัมผัสโรคผิวหนังจากการสัมผัส • โรคผิวหนังสัมผัสสารภูมิแพ้( L23) • โรคผิวหนังสัมผัสสารระคายเคือง (L24) • โรคผิวหนังสัมผัสสารอื่นๆ(L25) • พิษโลหะหนัก • พิษสารตะกั่ว (T56.0) • พิษสารหนู(T57.0) • พิษสารแคดเมียม(T56.3) • พิษสารปรอท(T56.1) • พิษสารอื่น ๆ(T57.8) BOE

  16. BOE • พิษสารระเหยและตัวทำละลาย • พิษเบนซีน ( T52.1) • พิษโทลูอีน( T52.2) • พิษสไตรีน( T52.83)# • พิษไตรคลอโรเอธิรีน ( T53.2) • อื่น ๆ

  17. BOE • พิษจากก๊าซ • พิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (T59.1) • พิษไนโตรเจนไดออกไซด์(T59.0) • พิษคาร์บอนมอนนอกไซด์(T58) • พิษแอมโมเนีย (T59.01)# • อื่น ๆ

  18. BOE พิษจากสารกำจัดแมลงศัตรูพืชและสารเคมีอื่น ๆ • พิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช • พิษออร์กาโนฟอสเฟต (T60.11)# • พิษคาร์บาเมต (T60.12)# • พิษไพรีทรอยด์ (T60.12)# • อื่น ๆ

  19. BOE • พิษสารกำจัดหนูและสัตว์แทะ(T60.4) • พิษสารกำจัดวัชพืช(T60.3) • พิษพาราควอท (T60.31)# • พิษกลัยโฟเสต(T60.32)# • อื่น ๆ • พิษสารเคมีอื่น ๆที่ใช้ตามบ้านเรือน

  20. BOE • รายงานผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมที่มารับการรักษาที่สถานบริการสาธารณสุขระดับ PCU/CUS/CUT • แบบรายงานผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและ • สิ่งแวดล้อม ( รง. 506/2) • ส่งข้อมูลทุกสัปดาห์ • วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม En-occ

  21. สำนักระบาด BOE Electronic file สคร. รง.506/2/Electronic file (OE1 OE2 OE3 OE4) สสจ. รง.506/2/Electronic file (OE1 /OE2 /OE3 / OE4) ศูนย์ข้อมูลอำเภอ ศูนย์ข้อมูล CUP รง.506/2/OE1 หน่วยรายงาน PCU/CUS/CUT รายงาน 506/2

  22. สสจ. PCU/CUS/CUT สคร รายงาน 506/2 Electronic file รวบรวม สำนักระบาด โรค SRRT หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นายจ้าง/สถานประกอบการ สอบสวนการระบาด ตรวจสอบ สอบสวนเฉพาะราย กรมควบคุมมลพิษ อุตสาหกรรม แรงงาน ชุมชน/คนงาน

  23. การสอบสวน ?????????? หาข้อมูลและข้อเท็จจริง เกี่ยวกับการเกิดโรคและสาเหตุของโรค โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ วิเคราะห์ แปลผล เพื่ออธิบายถึงสาเหตุปัจจัยของการเกิดโรค โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีเหตุและผล ที่สามารถพิสูจน์ได้

  24. - หาข้อมูล /ข้อเท็จจริง - ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ • ประเมินสภาวะหรือผลกระทบต่อสุขภาพ

  25. เพื่อทราบข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับลักษณะ สาเหตุและ ปัจจัยการเกิดโรค • เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงมาตรการป้องกันและควบคุมโรคได้อย่างเหมาะสม ป้องกันการเกิดโรคเพิ่มขึ้นและการกลับมาเป็นโรคอีก ตลอดจนสามารถให้การรักษาผู้ป่วยได้โดยเร็ว

  26. สิ่งควรรู้ • ความรู้ด้านระบาดวิทยาและลักษณะของโรค • ค่ามาตรฐานต่างๆในสิ่งแวดล้อม • การเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental monitoring) • การเฝ้าระวังทางชีวภาพ ( Biological Monitoring)ตัวชี้วัด (Determenant) เป็นสารพิษในสิ่งแวดล้อม • วิธีการเก็บตัวอย่าง การวิเคราะห์

  27. การ เจ็บป่วยหรือเสียชีวิตมากกว่าปกติด้วยอาการคล้ายกัน • และอยู่ในสถานที่เดียวกัน หรือไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด การเกิดอุบัติเหตุอุบัติภัย ในสถานประกอบการ และ สิ่งแวดล้อม ข้อร้องเรียน จากผู้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ และเหตุผล การเมืองอื่นๆ โรคหรืออาการที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนหรือนาน ๆ เกิดขึ้น ข้อบ่งชี้การปนเปื้อนของสารมลพิษในสิ่งแวดล้อม ที่อาจมีผลต่อสุขภาพ

  28. การตรวจสอบว่ามีปัญหาอยู่จริง (Verity the existence of a problem) • จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรค (Surveillance data) • การรายงานจากผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ • การรายงานจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข • การตรวจสอบข่าวสารจากสื่อมวลชนต่าง ๆ

  29. การยืนยันการวินิจฉัย (Verifying the diagnosis) • การวินิจฉัยทางคลินิก • การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ • การสอบถามจากแพทย์ พยาบาล

  30. การประเมินผลอย่างรวดเร็วในเบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูล องค์ประกอบที่น่าจะเป็นสาเหตุของการระบาด (Rapid preliminary assessment data) 1. หาข้อมูลลักษณะการระบาดของโรคหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. ยืนยันการวินิจฉัย ให้ได้โดยเร็ว 3. หากลุ่มเสี่ยงให้ได้ว่า ใครเป็นผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคบ้าง 4. อธิบายลักษณะทางคลินิกของการระบาด 5.พิจารณาข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่อาจจะเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคขึ้น 6.ประชาชนให้ความสนใจ ต้องการพิสูจน์ในทางกฎหมายหรือไม่ 7.ประเมินความพร้อมในการออกสอบสวน 8.การจัดเตรียมทีมออกสอบสวน

  31. การเตรียมการสอบสวนโรคการเตรียมการสอบสวนโรค 1. การจัดทีมสอบสวน/หน่วยเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) 2. การศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้น 3. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ 4. แบบสำรวจ/สอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล 5. การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  32. การสร้างแบบสอบถาม • ข้อมูลทั่วไป (ส่วนบุคคล)/ประวัติการเจ็บป่วย/กรรมพันธุ์ / พฤติกรรมต่าง ๆ • อาการและอาการแสดงที่สัมพันธ์ กับโรค หรืออาการตามคำ นิยามโรค • ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น • ข้อมูลสภาพทั่วไปของสถานที่เกิดเหตุ /ด้านสิ่งแวดล้อม • ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแต่ละเหตุการณ์

  33. การรวบรวมข้อมูล (Collection of data) การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ(Collection of Health data) 1.การกำหนดคำจำกัดความ (Establishing a case definition) 2. การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม (Search for additional cases) 3.การตรวจทางชีวภาพทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ - การตรวจที่มุ่งวัดการสัมผัสต่อสิ่งอันตราย (Exposure) - การตรวจที่มุ่งวัดผลกระทบต่อสุขภาพ (Health effect)

  34. การเก็บข้อมูลสิ่งแวดล้อมการเก็บข้อมูลสิ่งแวดล้อม 1. การสำรวจเบื้องต้น (Walk through Survey) 2. การเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อม

  35. การสำรวจเบื้องต้น(walk through survey) 1. แผนผังโรงงานหรือแผนที่ชุมชน 2. แผนผังกระบวนการผลิตและขั้นตอนการผลิต 3. ชนิดของสารเคมี และสิ่งคุกคามสุขภาพ 4. มลพิษของเสียที่ออกจากโรงงานสู่สิ่งแวดล้อม 5. กลุ่มเสี่ยงคนงานแต่ละแผนก หรือประชาชนที่ อยู่ในชุมชนที่เสี่ยง

  36. การเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อมการเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อม 1. การเก็บข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม โดยการสังเกตและใช้แบบสอบถาม 2. การตรวจวัดสิ่งคุกคามในสิ่งแวดล้อมและการเก็บตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์

  37. การวิเคราะห์ข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (Performing descriptive epidemiology) 1. ลักษณะของปัญหาการระบาดด้านเวลา (time) 2. ลักษณะปัญหาจากการระบาดด้านสถานที่ (place) 3. ลักษณะปัญหาจากการระบาดด้านบุคคล (person)

  38. การพิสูจน์สมมติฐาน (Testing the hypothesis) 1. การพิจารณาข้อมูลความจริงที่ได้จากการสำรวจ 2. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ (Analytic epidemiology) - cohort study - case-control study การตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis)

  39. การจัดการเกี่ยวกับการระบาดของโรคการจัดการเกี่ยวกับการระบาดของโรค (Management of epidemic) #การรักษาผู้ป่วย(treatmentofcare) # การค้นหาประชากรหรือกลุ่มคนงานที่เสี่ยงต่อการ เกิดโรค (Investigation of population at risk) # การควบคุมและการวางมาตรการในการป้องกัน (Implementing Control and prevention measures)

  40. การสรุปผลการสอบสวน ลำดับเหตุการณ์เกิดขึ้น รวบรวมข้อมูลสุขภาพ รวบรวมข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม และอื่น ๆ วิเคราะห์หาสาเหตุและข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นอย่างเป็นเหตุเป็นผลเชิงวิชาการ รายงานการสอบสวน

  41. การรายงานผลการสอบสวน (Report of the investigation) 1. การรายงานในเบื้องต้น 2. การรายงานผลการสอบสวน - การทำรายงานเพื่อเสนอผู้บริหาร (Executive summary) -การทำรายงานฉบับสมบูรณ์

  42. ชื่อเรื่อง เหตุการณ์ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ผลการสอบสวน –ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ข้อมูลด้านสุขภาพ จำนวนคนงานและสวัสดิการ กระบวนการผลิต และอื่น ๆ สรุปสาเหตุการสอบสวน ข้อสรุปและวิจารณ์ ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขและสิ่งที่ต้องดำเนินการ

  43. การควบคุมและป้องกัน การควบคุมป้องกันแหล่งต้นเหตุ การควบคุมป้องกันกลุ่มเสี่ยง

  44. การสอบสวนโรคปอดฝุ่นหิน ในโรงงานแห่งหนึ่ง จังหวัดสมุทรปราการ จากระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ พบพนักงานในโรงงานอิฐทนไฟ ที่มีอาการ ไอ มีเสมหะ หายใจลำบาก แพทย์ให้การวินิจฉัย R/O วัณโรค หรือเป็นโรคจากการทำงาน

  45. วัตถุประสงค์ • เพื่อยืนยันการวินิจฉัย และลักษณะทางระบาดวิทยาของการเจ็บป่วย • เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงการเจ็บป่วย • เพื่อหามาตรการควบคุมป้องกันการเจ็บป่วย

  46. วิธีการสอบสวน • สำรวจสภาพแวดล้อมในโรงงาน ขบวนการผลิต เครื่องมือผลิต ลักษณะงาน จำนวนคนงาน ข้อมูลความปลอดภัยและสวัสดิการ สิ่งคุกคามสุขภาพ (เพื่อค้นหาสิ่งคุกคามสุขภาพ) • - ใช้แบบสำรวจสิ่งแวดล้อมการทำงาน • – ใช้เครื่องตรวจวัดเสียง • – เก็บตัวอย่างอากาศ หาระดับ silicon dioxide

  47. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา(เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม)การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา(เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม) • การเก็บข้อมูลด้านสุขภาพ – การสัมภาษณ์คนงาน เกี่ยวกับประวัติการทำงาน อาการป่วย ระบบการหายใจ – ตรวจสมรรถภาพปอดคนงานทุกคน – เก็บเสมหะตรวจ – x-ray ปอด

More Related