1 / 20

รายงานความก้าวหน้า 2 /2548

รายงานความก้าวหน้า 2 /2548. การศึกษาสถานภาพและการจัดลำดับความสำคัญของโครงการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2548-2550) ต.ค. 48. คณะผู้วิจัย. ศ. เกียรติคุณ ดร. มนตรี จุฬาวัฒนทล ศ. ( พิเศษ) ดร. จอมจิน จันทรสกุล รศ. ดร. สุกัญญา เจษฎานนท์ ดร. พรทิพา พิชา

Download Presentation

รายงานความก้าวหน้า 2 /2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานความก้าวหน้า2/2548 การศึกษาสถานภาพและการจัดลำดับความสำคัญของโครงการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2548-2550) ต.ค. 48

  2. คณะผู้วิจัย ศ. เกียรติคุณ ดร. มนตรี จุฬาวัฒนทล ศ. (พิเศษ) ดร. จอมจิน จันทรสกุล รศ. ดร. สุกัญญา เจษฎานนท์ ดร. พรทิพา พิชา คุณเบญจา พวงสุวรรณ คุณฐิฏิกา วัชโรทัย สนับสนุนโดยงบประมาณประจำปี 2547, 2548 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชวช

  3. วัตถุประสงค์ • สถานภาพการวิจัยเคมีและเภสัชในประเทศ • ทิศทางและแนวโน้มการวิจัยเคมีและเภสัชในต่างประเทศ • ตลาดและการแข่งขันในตลาดในประเทศและต่างประเทศของผลิตภัณฑ์เคมีและเภสัช • กำหนดหัวข้อเรื่องและลำดับความสำคัญของการวิจัยเคมีและเภสัชที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ

  4. แผนงานและวิธีการ การศึกษาเอกสาร/ข้อมูล(7/47-10/47; 1-4/48) • ความต้องการผลิตภัณฑ์เคมีและเภสัช • แนวคิดการวิจัยเคมีและเภสัชในต่างประเทศ • ขีดความสามารถการวิจัยเคมีและเภสัชของไทย การประชุมกลุ่มระดมความคิด (10/47–12/47; 5-6/48) • การจัดลำดับความสำคัญของการวิจัยเคมี และเภสัชที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ • ข้อเสนอการปรับการวิจัยเคมีและเภสัช

  5. ยุทธศาสตร์ชาติ (2548-2550) • ความมั่นคง • เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน* • การพัฒนาสังคม** • ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน** • การบริหารจัดการประเทศ *การศึกษาระยะแรก (7/47 – 12/47) **การศึกษาระยะที่สอง (1/48 – 6/48)

  6. ผลิตภัณฑ์เคมีและเภสัชผลิตภัณฑ์เคมีและเภสัช - ยาและเวชภัณฑ์ - เซรามิก - อาหารและเครื่องดื่ม - คอนกรีตและวัสดุก่อสร้าง - เครื่องสำอาง - ไม้ เครื่องเรือนและที่อยู่อาศัย - สารเคมี และผลิตภัณฑ์ - ผลิตภัณฑ์โลหะ สมุนไพร - อัญมณีและเครื่องประดับ - สิ่งทอ เสื้อผ้า และเครื่องนุ่งห่ม - น้ำมันเชื้อเพลิง ลิกไนต์ และก๊าซโซฮอล

  7. แนวโน้มอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชในต่างประเทศ(สหรัฐ, อังกฤษ, ออสเตรเลีย และอินเดีย) • ใช้พลังงานมากและกระทบสิ่งแวดล้อม • หันมาใช้กระบวนการชีวภาพและตัวเร่งปฏิกิริยา • เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมที่ใช้สารเคมี • ส่งออก-นำเข้า ใช้มาตรฐานสากล • ย้ายการผลิตไปประเทศที่กำลังพัฒนา

  8. อุตสาหกรรมเคมีและเภสัชของไทยอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชของไทย มุ่งเน้นใน 5 สาขา • ยาและเวชภัณฑ์ • สมุนไพร • ปิโตรเคมี • พลาสติก • การแปรรูปวัสดุเกษตร

  9. กลยุทธในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเคมี และเภสัชของไทย • รับเป็นผู้ผลิตของบริษัทที่ย้ายฐานจากต่างประเทศ • เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย: ยานยนต์ อาหาร และสิ่งทอ (แฟชั่น) • สร้างลูกโซ่มูลค่า (value chain) จากวัสดุเกษตร (แป้ง น้ำตาล ยางพารา และไคติน) และสมุนไพร

  10. ความสามารถของนักวิจัยสาขาเคมีและเภสัชความสามารถของนักวิจัยสาขาเคมีและเภสัช (จากการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐาน SCI) • เคมีเป็นอันดับ 2 เภสัช เป็นอันดับ 8 • จุดอ่อนในด้าน electrochemistry, inorganic + nuclear, spectroscopy และ substance abuse

  11. การวิจัยและพัฒนาสาขาเคมีและเภสัชการวิจัยและพัฒนาสาขาเคมีและเภสัช • จัดเป็นกลุ่มคลัสเตอร์เฉพาะสาขา เช่น สมุนไพร ปิโตรเคมี ยา และวัสดุเกษตร • เชื่อมต่อกับอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชในประเทศ • ร่วมมือกับนักวิจัยต่างประเทศ

  12. ประเด็นเพื่อการประชุมกลุ่มหารือประเด็นเพื่อการประชุมกลุ่มหารือ • ลำดับความสำคัญของ 5 สาขา : ยา สมุนไพร ปิโตรเคมี พลาสติก การแปรรูปวัสดุเกษตร • สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่กับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต/คุณภาพสินค้าเดิม • การวิจัยเป็นกลุ่มคลัสเตอร์ • การร่วมมือกับอุตสาหกรรมที่ใช้ประโยชน์จากการวิจัย และพัฒนาสาขาเคมีและเภสัช

  13. สาขาการวิจัย อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของชาติ ยานยนต์ อาหาร แฟชั่น ท่องเที่ยว ซอฟท์แวร์ ยาและเวชภัณฑ์ - - - - - สมุนไพร - x - x - ปิโตรเคมี x - - - - พลาสติก x - x - - การแปรรูปวัสุดเกษตร x x x - - ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาการวิจัยวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช กับอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของชาติ

  14. สาขาการวิจัย นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการ ยาและเวชภัณฑ์ - x สมุนไพร x x ปิโตรเคมี - x พลาสติก x x การแปรรูปวัสดุเกษตร x x ลักษณะการวิจัยวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชที่สนับสนุนนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และ/หรือ นวัตกรรมกระบวนการ

  15. สาขาการวิจัย กลุ่มคลัสเตอร์ 1. ยาและเวชภัณฑ์ 1.1 วัคซีนคน 1.2 วัคซีนสัตว์ 1.3 ชุดตรวจวินิจฉัยโรค 1.4 การผลิตตัวยาที่สิทธิบัตรกำลังหมดอายุ 2. สมุนไพร 2.1 ตัวยาสมุนไพร 2.2 อาหารเสริมสมุนไพร 2.3 เครื่องสำอางสมุนไพร 3. ปิโตรเคมี 3.1 การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต 3.2 เอธานอลและไบโอดีเซล กลุ่มคลัสเตอร์การวิจัยวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช

  16. สาขาการวิจัย กลุ่มคลัสเตอร์ 4. พลาสติก 4.1 พลาสติกชีวภาพและพลาสติกย่อยสลายได้ 4.2 พลาสติกผสม 5. การแปรรูปวัสดุเกษตร 5.1 ยาและอาหารเสริมจากวัสดุเกษตร 5.2 สารคุณสมบัติพิเศษ 5.3 คุณภาพผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป 5.4 (เหมือนกลุ่ม 3.2) 5.5 (เหมือนกลุ่ม 4.1) กลุ่มคลัสเตอร์การวิจัยวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช (ต่อ)

  17. ลำดับความสำคัญของสาขาการวิจัยวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช เพื่อส่งเสริมการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  18. กลุ่มหารือ • 6 กลุ่มๆ ละ 10-20 ท่าน • 15, 22, 29 ต.ค. 47 • 18, 25 พ.ค., 1 มิ.ย. 48

  19. ข้อจำกัด • เน้นการส่งเสริม 3 ยุทธศาสตร์ชาติ - การแข่งขัน - พัฒนาที่ยั่งยืน - พัฒนาสังคม • ไม่ได้จัดลำดับคลัสเตอร์การวิจัยต่างๆ • ขาดข้อมูลเชิงปริมาณ

  20. ข้อเสนอแนะ • จัดกลุ่มคลัสเตอร์การวิจัยต่างๆ • เร่งรัดโดยจ้างนักวิจัยต่างประเทศ และศูนย์วิจัยต่างประเทศ • จัดทำ roadmap แต่ละเรื่อง • เริ่ม Converging technologies (NBIC): Nanotechnology Biotechnology Information technology Cognitive science

More Related