1 / 80

Human Malaria

Human Malaria. Human Malaria Suborder Haemosporina ปรสิตมีวงชีวิตแบบ Heteroxenous คือ มี Asexual cycle และ Sexual cycle สลับกันไปมา Asexual cycle เกิดภายใน RBC ของ Vertebrate Sexual cycle เกิดใน Invertebrate ปรสิตที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ได้แก่ ปรสิตที่นำโรค มาลาเรีย.

beulah
Download Presentation

Human Malaria

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Human Malaria

  2. Human Malaria • Suborder Haemosporina • ปรสิตมีวงชีวิตแบบ Heteroxenous คือ มี Asexual cycle และ Sexual cycle สลับกันไปมา • Asexual cycle เกิดภายใน RBC ของ Vertebrate • Sexual cycle เกิดใน Invertebrate • ปรสิตที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ได้แก่ ปรสิตที่นำโรค มาลาเรีย

  3. Family Plasmodiidae • Genus Plasmodium • ( Human , Animal Malaria) • Mal + aria • Bad air

  4. Human Malaria • - มี 4 species คือ • Plasmodium falciparum (Welch,1897)Plasmodium vivax (Grassi and Felett, 1890) • Plasmodium malariae (Laveran, 1881) • Plasmodium ovale (Stephens, 1922)

  5. Genus Plasmodium แบ่งออกเป็น 9 subgenera • พบว่า 2 subgenera เป็นสาเหตุของโรค Malaria ในสัตว์และคน ได้แก่ • 1. Subgenus Plasmodium • 2. Subgenus Laverania

  6. Subgenus Plasmodium • เกิด Exoerythrocytic schizonts หลายๆ generation (เกิดใน Parenchyma liver cells) • Gametocytes มีรูปร่างกลม • Host insect คือ ยุง Genus Anopheles • ได้แก่ Plasmodium vivax • Plasmodium ovale • Plasmodium malariae

  7. Subgenus Laverania • เกิด Exoerythrocytic schizonts เพียงครั้งเดียว • Gametocytes มีรูปร่าง crescent • Host insect คือ ยุง Genus Anopheles • ได้แก่ Plasmodium falciparum

  8. ประวัติเกี่ยวกับโรคมาลาเรียประวัติเกี่ยวกับโรคมาลาเรีย • พ.ศ. 2390 (1847) Meckel พบ Pigment ในเลือด • พ.ศ. 2392 (1849) ได้รับการยืนยันจาก Virchow • พ.ศ. 2398 (1855) ได้รับการยืนยันจาก Chacot • พ.ศ. 2423 Laveran พบเชื้อมาลาเรียในเลือด • พ.ศ. 2428 Marchiafava and Celli ยืนยันการพบ • ของ Laveranและตั้งชื่อ Genus Plasmodium

  9. พ.ศ. 2434 Romanosky คิดวิธีย้อมสีมาลาเรียได้ พ.ศ. 2441 Ross ศึกษา Life cycle ของมาลาเรีย พ.ศ. 2442 Bignami และคณะ ศึกษามาลาเรีย ของคนโดยพิสูจน์ว่า ยุงก้นปล่อง เป็นยุงพาหะ

  10. การแพร่กระจาย (Distribution) • พบในเขตร้อน (Tropical Zone) • อาจพบ Plasmodium malariaeได้บ้างในเขต • Subtropical zone • Temperate Zone พบ Plasmodium vivax • Plasmodium ovale มีรายงานพบที่ East • Africa , West Africa , Nigeria และ Philippines

  11. การติดต่อ (Mode of Infection) • 1. โดยธรรมชาติ • ถูกยุงก้นปล่อง (Anopheles spp.) นำเชื้อผู้ป่วย ได้รับ Sporozoites • 2. รับเชื้อจากการถ่ายเลือด • ทำให้เชื้อระยะ Trophozoites เข้าสู่ร่างกาย • 3. รับเชื้อทางรกขณะอยู่ในครรภ์ • เกิดจากการฉีกขาดของเส้นเลือดที่รก ทารก ได้รับ Trophozoites จากแม่

  12. วงชีวิต (Life cycle) • 1. Sporogony cycle (Exogenous sexual phase) • เป็นวงชีวิตระยะมีเพศ เกิดในยุงก้นปล่อง • เป็น cycle ที่เกิดขึ้นใน Invertebrate Host (Mosquito cycle)

  13. 2. Schizogony cycle (Endogenous sexual phase) • - เป็นวงชีวิตระยะไม่มีเพศ เกิดในคน • - เป็น cycle ที่เกิดขึ้นใน Vertebrate Host (Human cycle) • - แบ่งออกได้เป็น 3 แบบ

  14. 1. Exo-erythrocytic schizogony (Tissue stage) • - เป็นระยะที่อยู่นอกกระแสเลือด • 2. Erythrocytic schizogony (Blood stage) • - เป็นระยะที่เกิดอยู่ภายในกระแสเลือด • 3. Gametogony • - เป็นระยะผลิตเชื้อมีเพศ

  15. Sporogony cycle (Mosquito cycle) • เริ่มจากยุงกัดผู้ป่วยที่มีเชื้อ มาลาเรีย ได้ รับ Gametocyte จากเลือดผู้ป่วย • Mature Gametocytes เท่านั้นที่สามารถเจริญต่อไปได้

  16. Gametocyte • Microgamete Macrogamete • Zygote • Ookinete (Fusiform body) • Oocyst • Sporozoites

  17. Oocyst อยู่บริเวณ Hemocelomic cavity ของยุง • Mature Oocyst แตกปล่อย Sporozoite เข้าสู่ Hemocele Hemolymph Salivary gland

  18. Schizogony cycle (Human cycle) • Sporozoites เป็น Infective stage • ยุงที่มีเชื้อกัดคน ปล่อย sporozoites • เข้ากระแสเลือด

  19. Sporozoites • Parenchymal cell ของ ตับ • Schizogony • Merozoite • RBC

  20. Exo-erythrocytic schizogony • Sporozoites Liver cell Schizont Merozoites • Erythrocytic schizogony • Merozoites RBC Trophozoites Schizont • Merozoites

  21. Pre-erythrocytic schizogony • - หมายถึง ระยะที่ปรสิตมีการเพิ่มจำนวนแบบ Schizogony ครั้งแรกในเซลล์ตับ ก่อนที่จะปล่อย Merozoite เข้าสู่กระแสเลือด (Erythrocytic cycle) • - การเกิด Pre-erythrocytic schizogony ครบ 1 generation ใช้เวลาต่างกันไปในแต่ละชนิดของเชื้อมาลาเรีย คือ

  22. Piasmodium vivax ใช้เวลา 8 วัน Piasmodium falciparum ใช้เวลา 6 วัน Plasmodium ovale ใช้เวลา 9 วัน Plasmodium malariae ใช้เวลา 15 วัน

  23. Post-erythrocytic schizogony • - Merozoites บางตัวจะกลับเข้า Infect cell ตับอีก เกิด schizogony ซ้ำๆกลายเป็น Exoerythrocytic • - เรียก Merozoites พวกนี้ได้ว่า Hypnozoites • - การเกิด Post-erythrocytic จะเป็นสาเหตุทำ • ให้เกิดอาการไข้กลับ ( Relapsing Fever)

  24. Erythrocytic schizogony • - ถือเป็น Blood phase • - เป็นการเจริญของ Merozoites ภายใน • เม็ดเลือดแดง (RBC) • - มี 2 แบบ คือ • 1. Asexual cycle หรือ Schizogonic cycle • 2. Gametogonic cycle หรือ Gametocytogenesis

  25. Asexual cycle (Schizogonic cycle) - เริ่มจาก Merozoite ออกจากตับ แล้วเข้าสู่กระแสเลือด - เข้าเม็ดเลือดแดง (ทั้ง Erythrocytes และ Reticulocytes ) - พบว่าในการเข้าสู่เม็ดเลือดแดง ของเชื้อมาลาเรียแต่ละ ชนิดเป็นดังนี้ Plasmodium vivax และPlasmodium ovale ชอบเข้า Reticulocytes Plasmodium malariae ชอบเข้า Old Erythrocytes Plasmodium falciparumจะไม่เลือกชนิดของ RBC

  26. ภายในของ RBC จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ Merozoites • ระยะแรก - merozoite รูปร่างกลม (Oval) • - ไม่มี vacuole ใน cytoplasm • - ไม่มี pigment * (เรียก Malarial pigment) • - ใช้ cytoplasm ของเม็ดเลือดแดงเป็นอาหาร • - มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เป็นรูปวงแหวน • (Ring form)

  27. * ปรสิตใช้cytoplasmของ RBC เป็นอาหาร เมื่อเกิดการย่อยที่ไม่สมบูรณ์ จะมีสารประกอบ Hematin เหลือจาก Haemogobin , Hematin รวมตัวกับโปรตีน เป็น Malarial Pigment

  28. ระยะ Ring Form • - มีการขยายตัวของ cytoplasm ทำให้รูปร่างของวงแหวนเปลี่ยนแปลง มีลักษณะเป็น Amoeboid Form • - Malarial pigment จะชัดขึ้น (pigment มีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อ)

  29. ระยะ Amoeboid Form - มีการแบ่งตัวแบบ Mitosis - Activity ลดลง - Malarial pigment ชัดขึ้น - เมื่อมีการแบ่ง nucleus เรียก Immature Schizont ( Early Schizont) - เมื่อแบ่งตัวหลายๆครั้งจนไม่มีการแบ่งตัวอีก และหยุด activity เรียก Mature Schizont (Late Schizont)

  30. ระยะ Mature Schizont - cytoplasm แยกเป็นส่วนๆตามจำนวน nucleus - มีการขับ pigment ออกนอก cell - เรียก cell ที่ไม่มี Malarial pigment และ vacuole ว่า Merozoite

  31. ระยะ Merozoite - จะ infect RBC ทันที เพื่อป้องกันตัวเองจากระบบอิมมูน - เกิด Schizogony ต่อไป - เชื้อที่เกิด Relapsing Malaria พบว่า Merozoite อาจกับเข้าไปสู่ตับ และเกิด Post – erythrocytic cycle

  32. Gametogonic cycle • - Merozoites บางตัวจะมีการเปลี่ยนสภาพไป • เป็น Sexual plasmodial cell เรียกGametocytes • Male Microgametocytes • Female Macrogametocytes

  33. Gametocytes มีลักษณะเฉพาะ คือ มี 1 nucleus ซึ่งจะมีขนาดโตขึ้นตามระยะเวลาที่ gametocyte เจริญ แต่จะไม่มีการแบ่งตัว • Gametocyte ที่อยู่ในกระแสเลือดคน จะไม่มีการผสมกัน • ลักษณะของ gametocyte ในเชื้อแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน อาจมีรูปร่างกลม รูปไข่ หรือเป็นรูปกล้วยหอม (crescents shape)

  34. พยาธิสภาพของเม็ดเลือดแดงพยาธิสภาพของเม็ดเลือดแดง • - ในระหว่างที่เชื้อ Plasmodium เข้าไปเจริญอยู่ในเม็ดเลือดแดง จะเกิดพยาธิสภาพขึ้นกับเม็ดเลือดแดงในลักษณะต่างๆกัน แล้วแต่ชนิดของเชื้อ • - การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเม็ดเลือดแดงนี้ มีพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นกับผนังของเม็ดเลือดแดงด้วย โดยเชื้อปรสิตจะทำให้เกิดจุดหรือร่องที่ผนังเม็ดเลือด เมื่อย้อมสีและดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ สามารถที่จะสังเกตเห็น และเรียกลักษณะพยาธิสภาพพวกนี้ว่า dot ต่างๆ

  35. ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือดลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือด • ซึ่งเกิดจากชนิดของเชื้อชนิดต่างๆเป็นดังนี้ • 1.Plasmodium falciparum • RBC - ขนาดปกติ • - เกิด Maurer’s dot (เป็น dot ขนาดใหญ่ • รูปร่างเป็นแฉกมีมุมแหลม เมื่อดูด้วยกล้อง • จุลทรรศน์อิเล็กตรอน โครงสร้างคล้ายร่อง เป็นการปูดของผนัง parasitophorous vacuole) • - พบ Multiple infection

  36. 2.Plasmodium vivax • RBC - ขนาดใหญ่กว่าปกติ • - เกิด Schuffner’s dot (เป็นจุดเล็กๆ สีแดง • จำนวนมาก กระจายอยู่ชิดๆกัน เมื่อดูด้วย • กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบเป็นโครง • สร้างแบบ caveola-vesicular complex) • - ไม่ค่อยพบ Mutiple infection • - Pigment สีน้ำตาลกระจัดกระจาย

  37. 3.Plasmodium malariae • RBC - ขนาดปกติ หรือเล็กกว่าปกติ • - เกิด Ziemann’s dots (คล้ายผงฝุ่นละเอียด) • - ไม่มี Mutiple infection • - Pigment เห็นสีดำๆ มักอยู่ริมๆ เซลล์

  38. 4.Plasmodium ovale • RBC - รูปไข่ ใหญ่กว่าปกติ ด้านหนึ่งจะ • แตกเป็นแฉกๆ • - เกิด Schuffner’s dot เหมือน • P. vivax • - Pigment สีน้ำตาล

  39. ชนิดของเชื้อ Plasmodiumที่ทำให้เกิด Human MalariaPlasmodium falciparum ชื่อพ้อง : Malignant tertian : Subtertian : Estivo – autumnal : Falciparum malaria พบในเขตร้อนทำให้เกิดอาการจับไข้วันเว้นวันอย่าง รุนแรง ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น มาลาเรียขึ้นสมอง

  40. Plasmodium vivax • ชื่อพ้อง : Benign tertian • : Simple tertian • : Vivax malaria • พบกระจายทั่วไปทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น • ทำให้เกิดอากรจับไข้วันเว้นวันอย่างอ่อน ๆ

  41. Plasmodium malariae • ชื่อพ้อง : Quartan malaria • : Malariae malaria • พบมากในท้องที่ ที่มีความชื้นในบรรยากาศสูง • (แอฟริกา กลาง และตะวันตก ศรีลังกา บางส่วนของ • มาเลเซีย) ทำให้เกิดอาการจับไข้วันเว้นสองวัน

  42. Plasmodium ovale • ชื่อพ้อง : Ovale malaria • พบมากในทวีปแอฟริกาในประเทศไทย • พบในป่าเขาเขตชายแดน และในภาคใต้ • ทำให้เกิดอการจับไข้วันเว้นวัน

  43. อาการของโรคมาลาเรีย • มี 4 ระยะ • 1. ระยะฟักตัวของเชื้อ ( Pre-patent Period ) • - ตั้งแต่ sporozoites เข้าสู่เลือด จนถึง • ตรวจพบ Asexual stage ในกระแสเลือด • - ระยะนี้ไม่มีอาการ

  44. 2. ระยะฟักตัวของเชื้อ ( Incubation Period ) • - sporozoites เข้าสู่กระแสเลือด จนถึงเริ่ม • อาการของโรค • - ไม่มีอาการ (หรืออาจมีอาการในช่วง • ระยะท้ายๆ) • - P.f. ประมาณ 12 วัน • - P.o. และ P.v. ประมาณ 13-17 วัน • - P.m. ประมาณ 28-30 วัน

  45. 3. ระยะบอกเตือน ( Premonitory Period ) • - มีอาการหรือไม่มี ขึ้นอยู่กับปริมาณ • ของเชื้อที่ได้รับ และระดับภูมิต้านทาน • - ถ้ามีอาการ ไข้ไม่สูงนัก ปวดศีรษะ • ตะครั่นตะครอ อิดโรย เบื่ออาหาร

  46. 4. ระยะไข้มาลาเรีย ( Malaria Paroxysm ) • - ช่วงมีไข้มาลาเรีย แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ • 4.1 ระยะหนาว ( Cold stage ) อุณหภูมิร่าง • การลดลง มีอาการหนาวสั่น • มีระยะเวลาประมาณ 15-60 นาที • 4.2 ระยะร้อน ( Hot stage ) ผู้ป่วยมีไข้สูง • ระยะเวลาประมาณ 1-3 ชั่วโมง • (อาจถึง 6 ชั่วโมง)

  47. 4.3 ระยะเหงื่อออก ( Sweating stage ) • ประมาณ 2-4 ชั่วโมง จากนั้นผู้ป่วย • จะไม่มีไข้ เป็นระยะพัก (apyrexia) • ผู้ป่วยจะรู้สึกสบายดี จนกระเกิด • ระยะไข้อีก

  48. Vivax malaria และ Ovale malaria • อาการไม่รุนแรง • พบ Hypnozoite อยู่ในเซลล์ตับ • Pre-patent period 11-13 วัน • Incubation period 13-17 วัน • อาการนำ ไม่สบาย ปวดศรีษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน (เป็นๆ หายๆ)

More Related