1 / 104

บทที่ 19

บทที่ 19. แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า. นิรันดร์ เจริญกูล. ประวัติบางประการของวิชาแม่เหล็กและไฟฟ้า. มีการประยุกต์มากมาย ทั้งระดับมหทรรศน์ และ จุลทรรศน์ จีน มีบันทึกการค้นพบประมาณ 2500 ปีก่อนพุทธกาล กรีก พบปรากฏการณ์ประมาณ 200 ปีก่อนพุทธกาล มีการทดลองเกี่ยวกับอำพันและ แมกนีไทต์.

beate
Download Presentation

บทที่ 19

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 19 แรงไฟฟ้า และสนามไฟฟ้า นิรันดร์ เจริญกูล

  2. ประวัติบางประการของวิชาแม่เหล็กและไฟฟ้าประวัติบางประการของวิชาแม่เหล็กและไฟฟ้า • มีการประยุกต์มากมาย • ทั้งระดับมหทรรศน์ และ จุลทรรศน์ • จีน • มีบันทึกการค้นพบประมาณ 2500 ปีก่อนพุทธกาล • กรีก • พบปรากฏการณ์ประมาณ 200 ปีก่อนพุทธกาล • มีการทดลองเกี่ยวกับอำพันและ แมกนีไทต์ นิรันดร์ เจริญกูล

  3. Electricity and Magnetism, Some History, 2 • พ.ศ. 2143 • William Gilbert การเกิดอำนาจไฟฟ้าไม่ได้มีเฉพาะแท่งอำพันเท่านั้น • การเกิดอำนาจไฟฟ้าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้ทั่วไป • พ.ศ. 2328 • Charles Coulomb ยืนยันว่าแรงไฟฟ้าเป็นไปตามกฎกำลังสองผกผัน นิรันดร์ เจริญกูล

  4. Electricity and Magnetism, Some History, 3 • พ.ศ. 2363 • Hans Oersted พบว่าเข็มทิศเบนไปเมื่ออยู่ใกล้สายไฟฟ้าที่มีกระแสไหลผ่าน • พ.ศ. 2374 • Michael Faraday และ Joseph Henry แสดงให้เห็นว่า เมื่อเคลื่อนที่ลวดเข้าใกล้แท่งแม่เหล็กแล้วเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในลวดนั้น นิรันดร์ เจริญกูล

  5. Electricity and Magnetism, Some History, 4 • พ.ศ. 2416 • James Clerk Maxwell สร้างกฎของแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นมาจากผลการทดลองและสังเกต • รวมวิชาแม่เหล็กและไฟฟ้าเข้ารวมเป็นวิชาเดียวกัน • พ.ศ. 2431 • Heinrich Hertz ยืนยันคำทำนายของ Maxwell • นับเป็นผู้สร้างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นมา นิรันดร์ เจริญกูล

  6. ประจุไฟฟ้า(Electric Charges) • ประจุไฟฟ้ามีอยู่สองชนิด • เรียกว่าบวก(positive) และลบ(negative) • ประจุไฟฟ้าลบเป็นประจุของอิเล็กตรอน(electron) • ประจุไฟฟ้าบวกเป็นประจุของโปรตอน(proton) • ประจุไฟฟ้าเครื่องหมายเหมือนกันออกแรงผลักกัน ประจุไฟฟ้าเครื่องหมายตรงข้ามกันออกแรงดูดกัน นิรันดร์ เจริญกูล

  7. Electric Charges, 2 นิรันดร์ เจริญกูล

  8. Electric Charges, 3 • แท่งยางมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ • แท่งยางที่สองมีประจุไฟฟ้าเป็นลบเช่นเดียวกัน • ทั้งสองแท่งต่างผลักกัน • แท่งยางมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ • แท่งแก้วมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก • ทั้งสองแท่งต่างดูดกัน นิรันดร์ เจริญกูล

  9. เพิ่มเติมเกี่ยวกับประจุไฟฟ้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า • ในระบบที่เป็นเอกเทศ ประจุไฟฟ้าทั้งหมดเป็นปริมาณอนุรักษ์เสมอ • ตัวอย่างเช่น ประจุไฟฟ้าไม่ได้ถูกทำให้เกิดขึ้นจากการที่วัตถุสองชิ้นมาถูกัน • การเกิดอำนาจไฟฟ้าเกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง นิรันดร์ เจริญกูล

  10. การเป็นควอนตัม(Quantization)ของประจุไฟฟ้าการเป็นควอนตัม(Quantization)ของประจุไฟฟ้า • ประจุไฟฟ้า, q, เป็นควอนตัม • qเป็นสัญลักษณ์มาตรฐานสำหรับตัวแปรประจุไฟฟ้า • ไฟฟ้าที่พบเป็นกลุ่มปริมาณที่ไม่ต่อเนื่องกัน • q = Ne • N แทนเลขจำนวนเต็ม • e เป็นหน่วยหลักมูลของประจุไฟฟ้า • |e| = 1.6  10-19C • Electron : qe = e • Proton : qp = +e นิรันดร์ เจริญกูล

  11. ตัวอย่างการอนุรักษ์และเป็นควอนตัมของประจุไฟฟ้าตัวอย่างการอนุรักษ์และเป็นควอนตัมของประจุไฟฟ้า • แท่งแก้วถูกกับผ้าไหม • อิเล็กตรอนถูกถ่ายโอนจากแก้วไปยังผ้าไหม • อิเล็กตรอนแต่ละตัวเพิ่มประจุไฟฟ้าลบให้ผ้าไหม • ประจุไฟฟ้าบวกจำนวนเท่ากันถูกทิ้งไว้บนแท่งแก้ว • ประจุไฟฟ้าบนวัตถุทั้งสองเป็น±e, หรือ±2e, … นิรันดร์ เจริญกูล

  12. ตัวนำไฟฟ้า(Conductor) • ตัวนำไฟฟ้าเป็นวัสดุที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านได้อย่างอิสระเมื่อเทียบกับวัสดุอื่น • อิเล็กตรอนอิสระไม่ได้ถูกยึดไว้ด้วยอะตอม • อิเล็กตรอนเหล่านี้สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทั่ววัสดุเทียบกับอิเล็กตรอนอื่น • ทองแดง อลูมินัมและเงินเป็นตัวนำที่ดี • เมื่อตัวนำที่ดีได้รับประจุไฟฟ้าที่ตำแหน่งใด ประจุกระจายไปทั่วทั้งผิวของตัวนำทันที นิรันดร์ เจริญกูล

  13. ฉนวน(Insulators) • ฉนวนไฟฟ้าคือวัสดุที่ประจุไฟฟ้าไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ • แก้ว ยางและไม้เป็นตัวอย่างที่ดีของฉนวน • เมื่อฉนวนที่ดีได้รับประจุไฟฟ้าที่ตำแหน่งใด ประจุไม่สามารถเคลื่อนที่ไปยังบริเวณอื่นบนวัสดุนั้นได้ นิรันดร์ เจริญกูล

  14. สารกึ่งตัวนำ(Semiconductor) • สมบัติทางไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำอยู่ระหว่างฉนวนและตัวนำ • ซิลิคอน(silicon) และเยอรมันเนียม(germanium) เป็นตัวอย่างของสารกึ่งตัวนำ • สมบัติทางไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำสามารถเปลี่ยนแปลงได้หลายระดับขนาดโดยควบคุมปริมาณการเติมอะตอมแปลกปลอม(foreign)ลงไปในวัสดุ นิรันดร์ เจริญกูล

  15. การทำให้มีประจุโดยการเหนี่ยวนำ(Induction)การทำให้มีประจุโดยการเหนี่ยวนำ(Induction) • การทำให้มีประจุโดยการเหนี่ยวนำไม่จำเป็นต้องมีการสัมผัสวัตถุที่ทำการเหนี่ยวนำ • สมมติว่าเริ่มต้นจากทรงกลมโลหะที่เป็นกลางทางไฟฟ้า • ในทรงกลมมีประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบจำนวนเท่ากัน นิรันดร์ เจริญกูล

  16. Charging by Induction, 2 • นำแท่งยางที่มีประจุไฟฟ้าลบถูกนำเข้ามาใกล้ทรงกลม • และไม่ได้สัมผัสกัน • อิเล็กตรอนในทรงกลมที่เป็นกลางมีการจัดเรียงตัวใหม่ • การย้ายที่อยู่ของอิเล็กตรอนยังผลให้ทรงกลมด้านที่อยู่ใกล้แท่งยางมีประจุเป็นบวก นิรันดร์ เจริญกูล

  17. Charging by Induction, 3 • ต่อสายดินให้กับทรงกลม • ต่อสายดินหมายความว่าตัวนำเชื่อมกับแหล่งที่รับหรือจ่ายอิเล็กตรอนได้ไม่จำกัด เช่นโลก • อิเล็กตรอนส่วนหนึ่งจากทรงกลมไปผ่านทางสายดิน นิรันดร์ เจริญกูล

  18. Charging by Induction, 4 • เอาสายดินออก • ทำให้ในทรงกลมมีประจุไฟฟ้าบวกมากกว่าประจุลบ • หมายความว่าประจุบวกถูก “เหนี่ยวนำ” ให้เกิดขึ้นในทรงกลม นิรันดร์ เจริญกูล

  19. Charging by Induction, 5 • เอาแท่งประจุออกไป • แท่งประจุไม่ได้สูญเสียประจุไฟฟ้าไปในการเหนี่ยวนำ • อิเล็กตรอนที่เหลืออยู่บนทรงกลมจัดเรียงตัวใหม่ • ทำให้ประจุสุทธิในทรงกลมเป็นประจุบวก นิรันดร์ เจริญกูล

  20. การจัดเรียงตัวใหม่ของประจุในฉนวนการจัดเรียงตัวใหม่ของประจุในฉนวน • กระบวนการคล้ายกับการเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในตัวนำ • ประจุในโมเลกุลของวัสดุมีการเรียงตัวใหม่ • เรียกกระบวนการนี้ว่า “โพลาไรเซชัน”(polarization) นิรันดร์ เจริญกูล

  21. Charles Coulomb พ.ศ. 2279 – 2349 • มีงานหลักในวิชาไฟฟ้าสถิตและแม่เหล็ก(electrostatics and magnetism) • ยังศึกษาเรื่อง • ความแข็งแรงของวัสดุ • กลศาสตร์โครงสร้าง • การยศาสตร์(Ergonomics) • วิธีที่คนและสัตว์สามารถทำงานได้ดีที่สุด นิรันดร์ เจริญกูล

  22. Coulomb’s Law • คูลอมบ์วัดขนาดของแรงไฟฟ้าระหว่างทรงกลมเล็ก ๆ สองอัน • เขาพบว่าแรงมีค่าขึ้นกับค่าประจุและระยะห่างระหว่างประจุทั้งสอง นิรันดร์ เจริญกูล

  23. Coulomb’s Law, 2 • แรงไฟฟ้าระหว่างสองประจุไฟฟ้าที่อยู่นิ่งเรียกว่าแรงคูลอมบ์(Coulomb’s Force) • แรงเป็นสัดส่วนผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างประจุ rและทิศทางของเส้นที่โยงประจุทั้งสองเข้าด้วยกัน • แรงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของประจุ, q1และq2, บนอนุภาคทั้งสองนั้น นิรันดร์ เจริญกูล

  24. จุดประจุ(Point Charge) • คำว่าจุดประจุหมายถึงอนุภาคที่ไม่มีขนาดซึ่งมีประจุไฟฟ้า • พฤติกรรมทางไฟฟ้าของอิเล็กตรอนและโปรตอนสามารถอธิบายได้ดีด้วยแบบจำลองจุดประจุ นิรันดร์ เจริญกูล

  25. Coulomb’s Law, Equation • โดยคณิตศาสตร์, • หน่วยประจุในระบบ SI คือ คูลอมบ์ ( Coulomb : C ) • keแทนค่าคงตัวของคูลอมบ์ (Coulomb Constant ) • ke = 8.9875109Nm2/C2 = 1/(4o) • oแทนสภาพยอมของอวกาศ(permittivity of free space) • o= 8.854210-12 C2/Nm2 นิรันดร์ เจริญกูล

  26. ตัวอย่างที่ 1 จงหาขนาดของแรงที่ประจุ q1 ออกแรงกระทำกับประจุ q2 y (m) q2=2.0 C q1=3.0 C x (m) (2,0) (0,0) นิรันดร์ เจริญกูล

  27. แบบฝึกที่ 1 จงหาขนาดของแรงที่ประจุ q1 ออกแรงกระทำกับประจุ q2 y (m) q1=2.0 C q2=4.0 C x (m) (3,0) (0,0) นิรันดร์เจริญกูล

  28. ตัวอย่าง 19.2 Hydrogen Atom • แรงไฟฟ้าระหว่างอิเล็กตรอนและโปรตอนหาได้จากกฎของคูลอมบ์ • Fe = keqeqp / r2 = 8.210-8 N • เมื่อเปรียบเทียบกับแรงโน้มถ่วงระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอน • Fg = Gmemp / r2 = 3.610-47 N • อัตราส่วนระหว่างแรงไฟฟ้าต่อแรงโน้มถ่วงเป็น 2.3 1039 นิรันดร์ เจริญกูล

  29. บันทึกกฎของคูลอมบ์ • ระลึกไว้เสมอว่าประจุไฟฟ้ามีหน่วยเป็นคูลอมบ์ : C • eเป็นหน่วยของประจุขนาดเล็กที่สุด • ยกเว้น “ควาร์ก”( quark ) • e = 1.6 10-19 C • ดังนั้น 1 C ประกอบด้วย 6.241018 electrons หรือ protons • ประจุที่พบมักอยู่ในช่วงของ µC • จงจำไว้เสมอว่า แรงเป็นปริมาณชนิด เวกเตอร์ นิรันดร์ เจริญกูล

  30. ธรรมชาติเวกเตอร์ของแรงไฟฟ้าธรรมชาติเวกเตอร์ของแรงไฟฟ้า • เขียนแรงคูลอมบ์แบบเวกเตอร์ • แทนเวกเตอร์หน่วยชี้จากq1ไปq2 • ประจุชนิดเดียวกันเกิดแรงผลักระหว่างกัน นิรันดร์ เจริญกูล

  31. Vector Nature of Electrical Forces, 2 • แรงไฟฟ้าเป็นไปตามกฎข้อที่สามของนิวตัน • แรงกระทำบนq1มีขนาดเท่าและทิศตรงกันข้ามกันกับแรงที่กระทำบนq2 • ประจุที่เครื่องหมายเหมือนกัน ผลคูณq1q2เป็นบวกและเกิดแรงผลัก • ประจุที่เครื่องหมายตรงข้าม ผลคูณq1q2เป็นลบและเกิดแรงดูด นิรันดร์ เจริญกูล

  32. Vector Nature of Electrical Forces, 3 • จุดประจุสองอันอยู่ห่างกันด้วยระยะทางr • ประจุต่างชนิดกันเกิดแรงดูดกัน • ประจุเครื่องหมายต่างกัน ผลคูณq1q2เป็นลบและเกิดแรงดูด นิรันดร์ เจริญกูล

  33. บันทึกสุดท้ายเกี่ยวกับทิศทางบันทึกสุดท้ายเกี่ยวกับทิศทาง • เครื่องหมายของผลคูณq1q2บอกทิศทางสัมพัทธ์ของแรงระหว่างประจุq1และq2 • ทิศทางสัมบูรณ์ของแรงระบุได้ด้วยตำแหน่งจริงของประจุ นิรันดร์ เจริญกูล

  34. ตัวอย่างที่ 2 จงหาแรงที่ประจุ q1 ออกแรงกระทำกับประจุ q2 y (m) q2=2.0 C q1=3.0 C x (m) (2,0) (0,0) นิรันดร์ เจริญกูล

  35. แบบฝึกหัดที่ 2จงหาแรงที่ประจุ q1 ออกแรงกระทำกับประจุ q2 y (m) q2=1.0 C (0,3) q1=5.0 C x (m) (0,0) นิรันดร์ เจริญกูล

  36. แบบฝึกหัดที่ 3จงหาแรงที่ประจุ q1 ออกแรงกระทำกับประจุ q2 y (m) q2=1.0 C (4,3) q1=5.0 C x (m) (0,0) นิรันดร์ เจริญกูล

  37. หลักการซ้อนทับกัน(Superposition Principle) • แรงลัพธ์บนอนุภาคใดมีค่าเท่ากับผลบวกเวกเตอร์ของแรงทุกแรงที่กระทำบนอนุภาคนั้น • จงจำไว้ว่า บวกแรง คือการ บวกเวกเตอร์ • แรงลัพธ์บนประจุ q1คือผลบวกเวกเตอร์ของแรงทุกแรงที่กระทำบนประจุนั้นโดยประจุตัวอื่น : นิรันดร์ เจริญกูล

  38. ตัวอย่าง 19.1 การซ้อนทับของแรง แรงลัพธ์เป็นศูนย์ • วาง q3ที่ตำแหน่งทำให้แรงลัพธ์บน q3เป็นศูนย์ • ขนาดของแต่ละแรงเท่ากัน • ทิศทางตรงข้ามกัน • ได้เป็นสมการกำลังสอง • เลือกรากของสมการที่ได้แรงทิศตรงข้าม q1 = + 15 C q2 = + 6 C นิรันดร์ เจริญกูล

  39. สนามไฟฟ้าและประจุทดสอบElectric Field – Test charge • สนามไฟฟ้าถูกนิยามในพจน์ของประจุทดสอบqo • เพื่อความสะดวกมักใช้ประจุทดสอบเป็นบวก • ประจุทดสอบใช้ตรวจการมีอยู่จริงของสนามไฟฟ้า • และใช้บอกความแรงของสนามไฟฟ้า • ประจุทดสอบจะต้องมีขนาดเล็กพอที่จะถือได้ว่าไม่ไปรบกวนการกระจายตัวของประจุที่สร้างสนามไฟฟ้า นิรันดร์ เจริญกูล

  40. การนิยามสนามไฟฟ้า • สนามไฟฟ้าถูกพบบริเวณที่อยู่รอบ ๆ วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า • วัตถุที่มีประจุไฟฟ้านี้เป็นอนุภาคที่กำเนิดสนามไฟฟ้า • ประจุทดสอบเป็นวัตถุอื่นที่มีประจุไฟฟ้า ถูกแรงไฟฟ้ากระทำเมื่อเข้ามาอยู่ในสนามไฟฟ้า นิรันดร์ เจริญกูล

  41. Electric Field – Definition, cont • สนามไฟฟ้า คือ แรงไฟฟ้าที่กระทำบนประจุทดสอบต่อหนึ่งหน่วยประจุ • เวกเตอร์สนามไฟฟ้า, Eที่จุดหนึ่งในอวกาศ มีค่าเท่ากับแรงไฟฟ้า Feกระทำบนประจุบวกทดสอบqoที่วาง ณ ตำแหน่งนั้นหารด้วยประจุทดสอบ : นิรันดร์ เจริญกูล

  42. บันทึกสนามไฟฟ้า • E, สนามไฟฟ้าถูกสร้างขึ้นจากประจุไฟฟ้าบางตัวหรือการกระจายของประจุไฟฟ้าที่ไม่ใช่ประจุทดสอบ • การมีอยู่ของสนามไฟฟ้าเป็นสมบัติของประจุที่กำเนิดสนามไฟฟ้า • ตำแหน่งที่มีสนามไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องมีประจุทดสอบอยู่ตรงนั้น • ประจุทดสอบเป็นเพียงเครื่องตรวจสนาม นิรันดร์ เจริญกูล

  43. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับสนามความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับสนาม • สมการ Fe = qoE • ใช้ได้กับเฉพาะจุดประจุเท่านั้น • ขนาดของประจุเป็นศูนย์ • วัตถุที่มีขนาดใหญ่ ค่าสนามไฟฟ้าอาจแปรไปตามตำแหน่งต่าง ๆ บนวัตถุนั้นได้ • ถ้าqoเป็นบวก, FและEมีทิศเหมือนกัน • ถ้าqoเป็นลบ, FและEมีทิศตรงข้ามกัน นิรันดร์ เจริญกูล

  44. Electric Field Notes, Final • ทิศทางของสนามไฟฟ้า, E คือทิศเดียวกับแรงที่กระทำกับประจุทดสอบที่เป็นบวก • ในระบบ SI สนามไฟฟ้า, E มีหน่วยเป็น N/C • ตำแหน่งใดที่เอาประจุทดสอบไปวางตรงนั้นแล้วเกิดแรงไฟฟ้าขึ้น ที่นั้นย่อมมีสนามไฟฟ้า นิรันดร์ เจริญกูล

  45. สนามไฟฟ้าในรูปของเวกเตอร์สนามไฟฟ้าในรูปของเวกเตอร์ • ระลึกว่า เมื่อแหล่งกำเนิดสนามไฟฟ้า, qและประจุทดสอบ , qo เกิดแรงไฟฟ้า, Feตามกฎของคูลอมบ์ • ดังนั้นสนามไฟฟ้าจึงเป็น นิรันดร์ เจริญกูล

  46. เพิ่มเติมเกี่ยวกับทิศทางสนามไฟฟ้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับทิศทางสนามไฟฟ้า ใช้ประจุทดสอบ qoที่เป็นบวก a) qเป็นบวก แรงทิศชี้ออกจากq b) ทิศของสนามไฟฟ้าชี้ออกจากประจุกำเนิดสนามที่เป็นบวกเสมอ c) qเป็นลบ แรงชี้เข้าหาq d) ทิศของสนามไฟฟ้าชี้เข้าหาประจุกำเนิดสนามที่เป็นลบเสมอ นิรันดร์เจริญกูล

  47. การซ้อนทับกันของสนามไฟฟ้าการซ้อนทับกันของสนามไฟฟ้า • ที่ตำแหน่งใดใด P, สนามไฟฟ้าทั้งหมดที่เกิดจากกลุ่มประจุกำเนิดสนาม มีค่าเท่ากับ ผลบวกเวกเตอร์สนามไฟฟ้าที่ตำแหน่งนั้นเนื่องจากแต่ละประจุกำเนิดสนามไฟฟ้า นิรันดร์ เจริญกูล

  48. ตัวอย่าง 19.3 สนามไฟฟ้าของไดโพล(Dipole) • หาสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุ q1, • หาสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุ q2, • ระลึกเสมอว่า สนามไฟฟ้าเป็นเวกเตอร์ • ทิศทางของสนามไฟฟ้าย่อยแต่ละค่าคือทิศทางของแรงที่กระทำกับประจุทดสอบ นิรันดร์ เจริญกูล

  49. สนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุที่กระจายอย่างต่อเนื่องสนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุที่กระจายอย่างต่อเนื่อง • ระยะทางระหว่างประจุในกลุ่มประจุอาจน้อยมากเมื่อเทียบกับระยะทางระหว่างกลุ่มประจุกับตำแหน่งที่สนใจสนามไฟฟ้า • ในกรณีเช่นนี้ ให้ถือว่า ระบบประจุเป็นแบบจำลองการกระจายอย่างต่อเนื่องได้ • ระบบที่ประกอบด้วยประจุที่อยู่กันใกล้ ๆ สมมูลกับประจุที่มีการกระจายอย่างต่อเนื่องตามเส้น ตามผิว หรือไปทั่วทั้งปริมาตร นิรันดร์ เจริญกูล

  50. Electric Field – Continuous Charge Distribution, cont • ขั้นตอนกระบวนการ : • แบ่งประจุที่กระจายอยู่เป็นส่วนเล็ก ๆ แต่ละส่วนมีประจุq • คำนวณสนามไฟฟ้าที่จุด Pเนื่องจากส่วนประจุเล็ก ๆ นั้น • คำนวณสนามไฟฟ้าทั้งหมดโดยการบวกสนามไฟฟ้าจากส่วนประจุเล็ก ๆ นั้นเข้าด้วยกัน นิรันดร์ เจริญกูล

More Related