1 / 38

ระบบประสาท ( Nervous System )

ระบบประสาท ( Nervous System ). ระบบประสาทส่วนกลาง ( Central Nervous System : CNS ). ส่วนประกอบของระบบประสาทส่วนกลาง. Peripheral Nervous System : PNS ระบบประสาทรอบนอก. ส่วนประกอบของระบบประสาทรอบนอก. ปมประสาท (ganglion) คือกลุ่มเซลล์ประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง

astro
Download Presentation

ระบบประสาท ( Nervous System )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบประสาท ( NervousSystem )

  2. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System : CNS) ส่วนประกอบของระบบประสาทส่วนกลาง

  3. Peripheral Nervous System : PNS ระบบประสาทรอบนอก ส่วนประกอบของระบบประสาทรอบนอก • ปมประสาท (ganglion) คือกลุ่มเซลล์ประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง • เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) 12 คู่ • เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) 31 คู่

  4. สมอง(Brain) สมองเป็นอวัยวะที่สำคัญและซับซ้อนที่สุดของระบบประสาทมีคลื่นหรือรอยหยัก (convolution) มากเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการคิดและการจำสมองแบ่งเป็น 2 ชั้นคือ เชลล์ประสาท • ชั้นนอกมีเนื้อสีเทา(gray matter )เป็นที่รวมของตัวเซลล์ประสาทและ axon ชนิดไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (non-myelin sheath) • ชั้นในมีสีขาว(white matter) เป็นสารพวกไขมัน ตัวเซลล์ประสาทมี myelin sheath หุ้ม(ทำให้เห็นเป็นสีขาว)

  5. โครงสร้างของสมอง

  6. สมอง(Brain)

  7. สมองส่วนหน้า (forebrain) Olfactory bulbทำหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น สมองส่วนนี้ของคนไม่เจริญมาก จึงรับกลิ่นได้ไม่ดี Cerebrum มีเซลล์ประสาทมาก ความฉลาดของคนขึ้นอยู่กับจำนวนเซลล์สมอง ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิดความจำ เชาวน์ปัญญา ศูนย์กลางควบคุมการทำงานด้านต่างๆ

  8. สมองส่วนหน้า (forebrain) Thalamus   ทำหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมกระแสประสาทที่ผ่านเข้าออก และแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวกับกระแสประสาทนั้น Hypothalamus มีขนาดเล็กมีสำคัญในการควบคุมขบวนการต่างๆของร่างกาย ควบคุมการทำงานพื้นฐานของร่างกาย

  9. สมองส่วนกลาง (midbrain) • เป็นสมองส่วนที่เล็ก • มีหน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทจาก สมองส่วนท้ายไปยัง cerebrum • Optic lobe ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของนัยน์ตา ทำให้ลูกนัยน์ตากลอกไปมาได้ควบคุมการปิดเปิดของรูม่านตาในเวลาที่มี่แสงสว่างเข้ามากและน้อย

  10.  สมองส่วนหลัง (hindbrain)  • สมองส่วนหลัง รวมกันเรียกว่า ก้านสมอง ( Brain stem) • ภายในจะมีกลุ่มเซลล์และใยประสาท ทำหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมการมีสติสัมปชัญญะ ควบคุมการนอนหลับ การหลั่งนำย่อย

  11. สมองส่วนหลัง (hindbrain)  • Cerebellum • ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกเรียกว่า cortex มีสีเทา ชั้นในมีสีขาว • ทำหน้าที่ควบคุมเคลื่อนไหวและการทรงตัวของร่างกาย • Pons • เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่าง Cerebrum กับ Cerebellum และCerebellum กับ ไขสันหลัง • ควบคุมการเคลื่อนไหวของใบหน้า ควบคุมการหายใจ การเคี้ยว หลั่งน้ำลาย • Medulla oblongata • ติดกับไขสันหลัง • ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ • เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสันหลัง

  12. ไขสันหลัง(Spinal cord) มีความยาวประมาณ 45 cm มีหน้าที่3 ประการคือ 1) ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกไปสู่สมอง 2) ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากสมองไปสู่หน่วยปฏิบัติงาน 3) เป็นศูนย์รีเฟล็กซ์

  13. ไขสันหลัง(Spinal cord) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1.ส่วนที่เป็นสีเทา (gray matter) 2.ส่วนที่เป็นสีขาว (white matter)

  14. ไขสันหลัง เนื้อสีเทา (gray matter)แก้ • เป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทและ ใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม • มีช่องกลวงตรงกลางไขสันหลัง  (central canal) เป็นที่อยู่ของ น้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง(cerebo-spinal fluid) เนื้อสีขาว (white matter ) • มีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม • ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างไขสันสันหลังกับสมอง

  15. เซลล์ประสาท(neuron/ nerve cell) ประกอบด้วย ตัวเซลล์ และ ใยประสาท • ตัวเซลล์ (Cell body/soma) ภายในมีนิวเคลียส และออร์แกเนลล์อื่น • Cell process คือส่วนที่ยื่นออกเป็นแขนงจากตัวเซลล์ • 1. dendrite นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์  • 2. axonนำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์   • node of Ranvier • เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม

  16. ชนิดของเซลล์ประสาท แบ่งตามจำนวนแขนงที่แยกออกจากตัวเซลล์ มี 1 แอกซอน และหลายเดนไดรท์ เซลล์ประสาทขั้วเดียว เซลล์ประสาท 2 ขั้ว มี 1 แอกซอน และ 1 เดนไดรท์ พบได้ที่เยื่อบุโพรงจมูก และเรตินา

  17. ชนิดของเซลล์ประสาท แบ่งตามหน้าที่

  18. ชนิดของเซลล์ประสาท • เซลล์ประสาทสั่งการทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจากไขสันหลังส่งไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เช่น กล้ามเนื้อแขนขา ซึ่งอยู่ห่างไกลไขสันหลังมาก จึงมีใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์ อาจยาวถึง 1 เมตร • เซลล์ประสาทรับความรู้สึก ทำหน้าที่รับกระแสความรู้สึกส่งเข้าสู่สมองและไขสันหลัง แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ อาจผ่านเซลล์ประสานงานหรือไม่ผ่านก็ได้ • เซลล์ประสาทประสานงานทำหน้าที่รับกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทรับความรู้สึกแล้วส่งให้เซลล์ประสาทสั่งการ ตำแหน่งของเซลล์ชนิดนี้จึงอยู่ภายในสมองและไขสันหลัง motor neuron sensory neuron association neuron

  19. การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท

  20. การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง

  21. ระบบประสาทโซมาติก (Somatic Nervous System : SNS) 2.4 • เป็นระบบที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ • ได้แก่ เส้นประสาทสมอง (cranial nerves) จำนวน 12 คู่ และเส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerves) จำนวน 31 คู่  ในบางครั้งระบบประสาทโซมาติกมีการทำงานที่อยู่นอกอำนาจจิตใจก็ได้ คือ การตอบสนองของกล้ามเนื้อลายที่ไม่ต้องผ่านสมอง(ปฏิกิริยา reflex) เพียงแต่นำส่งกระแสประสาทจากอวัยวะรับความรู้สึกต่าง ๆ ผ่านเข้าไขสันหลัง และไขสันหลังส่งกระแสประสาทนำคำสั่งออกไปยังอวัยวะหรือกล้ามเนื้อ

  22. Reflex Action เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างรวดเร็ว อาศัยเซลล์ประสาท 3 เซลล์ การกระตุกขาอันเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อขา ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อลาย เป็นการตอบสนองสิ่งเร้าในเวลาสั้นๆ โดยไม่ผ่านสมอง กิริยาดังกล่าวเรียกว่า รีเฟล็กซ์แอกชัน (reflex action)  => ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ

  23. 3 2 Reflex Action 4 5 1 รีเฟล็กซ์เมื่อเดินไปเตะก้อนหิน  รีเฟล็กซ์แอกชันที่หัวเข่า (knee jerk)

  24. ระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic Nervous System : ANS)  เป็นระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน โดยควบคุมกล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นการควบคุมที่ไม่อยู่ในอำนาจจิตใจ (involuntary) 

  25. การทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในให้ทำงานตรงกันข้าม 

  26. เปรียบเทียบวงจรระบบประสาทโซมาติกกับวงจรระบบประสาทอัตโนมัติ Autonomic Nervous System : ANS Somatic Nervous System : SNS

  27. วงจรประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ ประกอบด้วย 5 หน่วย เหมือนกับระบบประสาทโซมาติก เพียงแต่ระบบประสาทอัตโนมัติมีเซลล์ประสาทสั่งการ 2 เซลล์ แต่ไม่มีเซลล์ประสาทประสานงาน  Autonomic Nervous System : ANS Somatic Nervous System : SNS

  28. ตารางเปรียบเทียบการทำงานของระบบประสาทโซมาติก (SNS) กับระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS) 3.

  29. อวัยวะรับสัมผัส

  30. ดวงตากับการรับภาพ • ลูกตามีกล้ามเนื้อ 6 มัด ทำหน้าที่กลอกลูกตาไปมา • ลูกตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อผนังหุ้มลูกตา 3 ชั้น 1.   ชั้นนอก (sclera)  2.   ชั้นกลาง (choroid)  • 3.   ชั้นใน (retina)

  31. กลไกการมองเห็น ภายในเรตินามีความไวต่อแสงมากเนื่องจาก เรตินาประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด ได้แก่ 2. Cone cell ทำงานได้ดีขณะความเข้มแสงสูง บอกความแตกต่างของสี 1. Rod cell ทำงานได้ดีขณะแสงสลัว • เยื่อหุ้มเซลล์รูปแท่งจะมีสารสีม่วงแดงชื่อโรดอปซิน(rhodopsin) อยู่ สารนี้ประกอบด้วย opsin รวมกับ retinol ซึ่งไวต่อแสง • ถ้ามีแสง=>retinol จะไม่เกาะกับ opsin ทำให้กระแสประสาทส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 ให้แปลเป็นภาพ • ถ้าไม่มีแสง => opsin และ retinol จะรวมตัวกันเป็น rhodopsin ใหม่

  32. โครงสร้างภายในของหู 1. ใบหู (pinna) 2. รูหู 3. เยื่อแก้วหู (Ear drum) 4. ท่อยูสเตเซียน(Eustachian tube) 5. กระดูกค้อน(Malleus) 6. กระดูกทั่ง(Incus) 7. กระดูกโกลน(Stapes) 8. คอเคลีย(Cochlea) 9. เส้นประสาทคู่ที่ 8(auditory nervous) ท่อยูสเตเซียนทำหน้าที่อะไร? = ปรับความดันระหว่างหูตอนกลาง และอากาศภายนอก 

  33. การทำงานของหู • หู รับความรู้สึกเกี่ยวกับได้ยินเสียงและการทรงตัว แบ่งออก 3 ส่วนคือ • หูชั้นนอกมีใบหูช่วยรับเสียงรูหู และแก้วหูช่วยนำเสียงเข้าไปและส่งต่อไปยังหูชั้นกลาง • หูชั้นกลางมีกระดูก 3 ชิ้นคือกระดูกค้อน ,ทั่งและโกลนช่วยส่งคลื่นเข้าไปยังหูชั้นใน • หูชั้นในประกอบด้วยโคเคลีย เป็นอวัยวะรับเสียง และเซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircular canal) ช่วยในการทรงตัว • เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้าไปจนถึงคอเคลียก็ จะทำให้ของเหลวภายในสั่นสะเทือน กระตุ้นอวัยวะรับเสียงให้ส่งสัญญาณ ไปตามเส้นประสาทรับฟัง คู่ที่ 8 เพื่อส่งเข้าสู่สมองต่อไป

  34. จมูกกับการดมกลิ่น • ภายในโพรงจมูก มีเซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory neuron) • เซลล์ประสาทรับกลิ่น คือเส้นสมองคู่ที่ 1 • สมองส่วน Cerebrum เกี่ยวข้องกับการดมกลิ่น

  35. ลิ้นกับการรับรส ด้านบนของผิวลิ้น มีปุ่มลิ้น (papilla) ตุ่มรับรส (test bud) ซึ่งมีเซลล์รับรส (gustatory cell) ต่อกับใยประสาททำหน้าที่รับรส ส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9

  36. ผิวหนังกับการรับความรู้สึกผิวหนังกับการรับความรู้สึก • มีหน่วยรับความรู้สึกไวที่ต่อการกระตุ้นในระดับต่าง ๆ ของผิวหนัง • แต่ละบริเวณมีปลายประสาทรับความรู้สึกอยู่ หนาแน่นต่างกัน

More Related