1 / 50

การเปิดตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐตามกรอบ JTEPA

การเปิดตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐตามกรอบ JTEPA. กับความท้าทายของผู้ประกอบการไทย. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). วัตถุประสงค์ของการศึกษา. สร้างความรู้ความเข้าใจระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น เตรียมการเพื่อขยายความร่วมมือด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐภายใต้กรอบ JTEPA

amora
Download Presentation

การเปิดตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐตามกรอบ JTEPA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเปิดตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐตามกรอบ JTEPA กับความท้าทายของผู้ประกอบการไทย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

  2. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • สร้างความรู้ความเข้าใจระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น • เตรียมการเพื่อขยายความร่วมมือด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐภายใต้กรอบ JTEPA • ส่งเสริมภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในตลาดภาครัฐของญี่ปุ่น • เป็นแนวทางเพื่อการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของไทย

  3. การปกครองและการคลังของญี่ปุ่นการปกครองและการคลังของญี่ปุ่น • ปกครองแบบรัฐเดี่ยว โดยแบ่งเป็นราชการส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ • หน่วยงานภาครัฐแต่ละประเภทมีกฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างของตนเองเช่นเดียวกับประเทศไทย • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของญี่ปุ่นมีอิสระในการบริหารสูงกว่าของประเทศไทย • มีรายได้หลักจากภาษีท้องถิ่น • มีอำนาจสูงในการบริหารการเงินการคลังของตนเอง โดยความเห็นชอบจากรัฐสภา

  4. กฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นกฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น • ไม่มีกฎหมายด้านการจัดซื้อจัดจ้างโดยเฉพาะ แต่อาศัยอำนาจจาก • Accounts Law สำหรับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในส่วนกลาง • Local Autonomy Law สำหรับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในท้องถิ่น • มีมติคณะรัฐมนตรี และกฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในระดับกระทรวงกำกับ • สำนักนายกรัฐมนตรีดูแลนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างในส่วนกลาง • Ministry of Internal Affairs and Communications (กระทรวงมหาดไทย) ดูแลนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างในส่วนท้องถิ่น

  5. การตรวจสอบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นการตรวจสอบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น คณะกรรมการทบทวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี • รับเรื่องร้องเรียนสำหรับการจัดซื้อจัดจ้างในส่วนกลาง และรัฐวิสาหกิจในกำกับของส่วนกลาง • รับร้องเรียนจากปัจเจกบุคคล และองค์กร • ประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้าร่วมกระบวนการทบทวนข้อร้องเรียนได้ • ประชาสัมพันธ์ผลการทบทวนผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ของรัฐ เว็บไซต์http://www5.cao.go.jp/access/english/chans_main_e.htmlและสื่ออื่นๆ

  6. การตรวจสอบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นการตรวจสอบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น คณะกรรมการการค้าที่เป็นธรรม มีอำนาจหน้าที่ดังนี้ • สอบสวนการละเมิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด • รับและตรวจสอบคำชี้แจงจากบริษัทเอกชน หรือสมาคมผู้ประกอบการ ที่คณะกรรมการมีคำสั่งให้รายงาน • วิจัยสภาพตลาดในอุตสาหกรรมที่มีการผูกขาด • ให้คำแนะนำแก่ส่วนราชการด้านการป้องกันการผูกขาด • ประกาศแนวทางปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมายป้องกันการผูกขาด

  7. การตรวจสอบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นการตรวจสอบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้างมีหน้าที่ต้องรายงานและร่วมมือกับคณะกรรมการการค้าที่เป็นธรรม เมื่อ • พบว่าผู้ประกอบการหรือสมาคมการค้ามีพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่อาจละเมิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด • ได้รับข้อมูลที่บ่งชี้ความเป็นไปได้ของพฤติกรรมละเมิดกฎหมายป้องกันการผูกขาดในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน โดยให้รวมตั้งแต่ขั้นตอนการกำหนดคุณสมบัติของสินค้าหรือบริการ

  8. ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นที่แตกต่างจากไทยขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นที่แตกต่างจากไทย • การจัดซื้อสินค้าที่มีความซับซ้อนสูง หรือมีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 40 ล้านบาท ต้องวิจัยตลาด หรือทดสอบสินค้าก่อนการจัดทำร่างข้อกำหนดคุณสมบัติ • ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อกำหนดคุณสมบัติของสินค้าก่อนจัดการเสนอราคา

  9. ญี่ปุ่นกับความตกลงด้านการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐ • สมาชิกความตกลง GPAลงนามเมื่อ 1994 • ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ: • Japan-Singapore Economic Partnership Agreement (JSEPA) ลงนามเมื่อ มกราคม 2002 • Japan-Mexico Economic Partnership Agreement (JMexPA) ลงนามเมื่อ กันยายน 2004 • Japan-Chile Economic Partnership Agreement (JCEPA) ลงนามเมื่อ มีนาคม 2007 • Japan-Thailand Economic Partnership Agreement (JTEPA)ลงนามเมื่อ เมษายน 2007

  10. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐใน JTEPA • การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันเกี่ยวกับ • นโยบายและวิธีปฏิบัติด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • กำหนดให้หน่วยงานต่อไปนี้เป็นจุดแลกเปลี่ยนข้อมูล และให้ซัพพลายเออร์ของประเทศภาคีติดต่อขอข้อมูลได้ • ญี่ปุ่น: กระทรวงต่างประเทศ • ไทย: กระทรวงการคลัง

  11. ประเทศที่ลงนามความตกลง GPA ความตกลงด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐใน Japan-SingaporeEconomicPartnership มีเนื้อหาเหมือนกับ GPA

  12. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในความตกลงต่างๆการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในความตกลงต่างๆ

  13. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในความตกลงต่างๆการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในความตกลงต่างๆ

  14. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในความตกลงต่างๆการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในความตกลงต่างๆ

  15. หัวข้อสำคัญของการเจรจา • ขอบเขตและความครอบคลุม • หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • ประเภทสินค้า บริการ และงานก่อสร้าง • ประเภทของสัญญา • มูลค่าขั้นต่ำของการจัดซื้อจัดจ้าง • การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร • วิธีเสนอราคา • เงื่อนไขการเข้าร่วมเสนอราคาและเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้ชนะการเสนอราคา • สิทธิพิเศษ

  16. ขอบเขตของความตกลง • รายชื่อหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐที่ญี่ปุ่นเสนอใน GPA มีความครอบคลุมมากกว่าในความตกลงระดับทวิภาคี • ครอบคลุมสินค้า บริการ และงานก่อสร้าง เกือบทุกชนิด ยกเว้นสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ • ครอบคลุมทุกประเภทสัญญา ยกเว้น JMexPA ไม่ครอบคลุมสัญญาแบบ Build-operate-transfer และสัญญาสัมปทานของรัฐ

  17. มูลค่าขั้นต่ำในการเปิดให้มีการแข่งขันในความตกลงทุกฉบับของญี่ปุ่นมูลค่าขั้นต่ำในการเปิดให้มีการแข่งขันในความตกลงทุกฉบับของญี่ปุ่น หน่วย: บาท

  18. บทบัญญัติด้านข้อมูลข่าวสารบทบัญญัติด้านข้อมูลข่าวสาร • ไม่มีข้อกำหนดเรื่องภาษาที่ใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลกฎระเบียบ และข่าวการเสนอราคา • ข้อมูลข่าวสารเกือบทั้งหมดเป็นภาษาญี่ปุ่น ยกเว้นข้อมูลในเว็บไซต์ JETRO ซึ่งไม่มีรายละเอียดมากนัก

  19. เว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของญี่ปุ่นที่เป็นภาษาญี่ปุ่นเว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของญี่ปุ่นที่เป็นภาษาญี่ปุ่น • เว็บไซต์ประกาศข่าวของราชการ www.kanpou.nbp.go.jp • ประกาศข่าวจัดซื้อจัดจ้างของทุกหน่วยงาน - ปรับปรุงรายวัน • สามารถดาวน์โลดเอกสารได้ในรูปของไฟล์ pdf • เว็บไซต์www.i-ppi.jpรวมข่าวการจัดซื้อของ 3 กระทรวง • กระทรวงก่อสร้างและคมนาคม • กระทรวงเกษตร การป่าไม้ และประมง • กระทรวงป้องกันประเทศ • เว็บไซต์ของหน่วยงานราชการแต่ละแห่ง และเว็บท่าของรัฐบาล (www.e-gov.go.jp) ซึ่งรวมแหล่งเชื่อมต่อเว็บไซต์ของทุกกระทรวง

  20. เว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของญี่ปุ่นเป็นภาษาอังกฤษเว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของญี่ปุ่นเป็นภาษาอังกฤษ เว็บไซต์ของกระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่นwww.mofo.go.jp/policy/economy/procurement ให้ดาวน์โลดเอกสารแนะนำการเข้าสู่ตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่นตามกรอบความตกลง GPA ให้ข้อมูลกว้างๆ เกี่ยวกับ มูลค่าขั้นต่ำของการจัดซื้อจัดจ้าง วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง เงื่อนไขการเข้าร่วมยื่นข้อเสนอ และเกณฑ์ในการพิจารณาข้อเสนอ รายชื่อหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้างและเบอร์โทรศัพท์ติดต่อ

  21. เว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของญี่ปุ่นเป็นภาษาอังกฤษเว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของญี่ปุ่นเป็นภาษาอังกฤษ เว็บไซต์ของ JETRO: www.jetro.go.jp/en/matching/procurement/ ให้บริการค้นหาข่าวการเสนอราคา รายชื่อหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ เชื่อมต่อไปสู่เว็บไซต์หน่วยงานรับเรื่องร้องเรียนด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของญี่ปุ่น

  22. ความแตกต่างของเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นภาษาญี่ปุ่นกับภาษาอังกฤษความแตกต่างของเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นภาษาญี่ปุ่นกับภาษาอังกฤษ

  23. วิธีเสนอราคา • วิธีเสนอราคาแบบเปิดกว้าง (Open tendering) • วิธีเสนอราคาแบบคัดเลือก (Selective tendering) • งานที่ใช้วิธีเสนอราคาแบบเปิดกว้างแล้วไม่ได้ผล • เป็นสินค้าหรือบริการที่มีผู้ขายน้อยราย • วิธีเสนอราคาแบบจำกัด (Single tendering) • งานที่ใช้วิธีเสนอราคาแบบเปิดกว้างแล้วไม่ได้ผล • สำหรับสินค้าหรือบริการที่มีสิทธิบัตร • งานก่อสร้างส่วนเพิ่ม ที่มีมูลค่าไม่เกิน 50% ของสัญญาหลัก • โครงการสนับสนุน SME

  24. เงื่อนไขการเข้าร่วมเสนอราคาเงื่อนไขการเข้าร่วมเสนอราคา มีเงื่อนไขที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการเข้าร่วมเสนอราคา • สินค้าบางประเภทเช่น ยา ต้องมีใบอนุญาตจากทางราชการจึงจะเข้าร่วมเสนอราคาได้ (Pharmaceutical Law) • สินค้าบางประเภท เช่น อุปกรณ์เครื่องกล เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ มีการจัดชั้นของผู้เข้าร่วมเสนอราคา (คล้ายการจัดชั้นผู้รับเหมาก่อสร้างของไทย)

  25. การพิจารณาผลการเสนอราคาการพิจารณาผลการเสนอราคา • ใช้เกณฑ์ราคาต่ำสุด ยกเว้นกรณีต่อไปนี้ • หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้างตรวจสอบก่อนทำสัญญาแล้วพบว่าผู้ที่เสนอราคาต่ำสุดไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขการเสนอราคาได้ • การตัดสินให้ผู้เสนอราคาต่ำสุดเป็นผู้ชนะเสนอราคา มีแนวโน้มทำให้เกิดผลเสียต่อความเป็นธรรมในระเบียบการค้า • เป็นการใช้วิธี Overall Greatest Value(OGV) ซึ่งใช้เกณฑ์อื่นๆ ที่ไม่ใช่ราคาประกอบการพิจารณา • ตัวอย่างเกณฑ์ที่ไม่ใช่ราคา เช่น การรักษาความสะอาดในพื้นที่ก่อสร้าง การควบคุมมลภาวะทางเสียง โดยพิจารณาจากประวัติงานที่ผ่านมา

  26. สิทธิพิเศษ • รัฐบาลญี่ปุ่นกำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) • ตัวอย่างมาตรการส่งเสริม SME ในงานเสนอราคาของภาครัฐ ของเทศบาลนครโตเกียว เช่น • ใช้วิธีเสนอราคาแบบจำกัด (Single tendering) • ส่งเสริมให้หน่วยงานราชการเปิดโอกาสให้กลุ่มสหกรณ์ หรือให้บริษัทขนาดเล็กรวมตัวกัน เข้าร่วมเสนอราคาได้ • สนับสนุนให้หน่วยงานราชการสั่งซื้อของเป็นงวดๆ • ให้ความรู้แก่ SME เรื่องการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ผ่านทางศูนย์ SME ในแต่ละจังหวัด

  27. การปฏิบัติตาม GPA ของญี่ปุ่น วิเคราะห์ข้อมูลจาก • Japan’s Government Procurement: Policy and Achievements Annual Report 2006 ซึ่งเป็นการรายงานผลการปฏิบัติตาม GPA ของประเทศญี่ปุ่น • 2008 Trade Policy Agenda and 2007 Annual Report โดย The Office of the United States Trade Representative(USTR)

  28. การจัดซื้อจัดจ้างจากซัพพลายเออร์ต่างประเทศโดยหน่วยงานรัฐบาลญี่ปุ่นการจัดซื้อจัดจ้างจากซัพพลายเออร์ต่างประเทศโดยหน่วยงานรัฐบาลญี่ปุ่น • ญี่ปุ่นมีสัดส่วนการจัดซื้อจากต่างประเทศน้อยมาก และมีแนวโน้มลดลง • ซัพพลายเออร์ต่างประเทศ อันดับ 1: สหรัฐอเมริกา อันดับ 2: กลุ่มสหภาพยุโรป

  29. รายการสินค้าและบริการที่รัฐบาลญี่ปุ่นจัดซื้อจัดจ้างจากต่างประเทศรายการสินค้าและบริการที่รัฐบาลญี่ปุ่นจัดซื้อจัดจ้างจากต่างประเทศ สินค้า • เครื่องบิน และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง • น้ำมัน และถ่านหิน • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง บริการ • บริการโทรคมนาคม • บริการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ไม่พบว่ามีงานก่อสร้าง

  30. วิธีจัดซื้อจัดจ้าง • ญี่ปุ่นใช้วิธีเสนอราคาแบบทั่วไปมากกว่าร้อยละ 50

  31. ปัญหาในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ของญี่ปุ่น สำนักงานผู้แทนการค้าสหรัฐ (USTR) สรุปปัญหาดังนี้ • การสมยอมกันเสนอราคาในงานจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐโดยเฉพาะในงานก่อสร้าง • ปัญหาสำหรับซัพพลายเออร์ต่างประเทศ • มีความยากลำบากในขั้นตอนการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้นเพื่อขึ้นทะเบียนซัพพลายเออร์ • มีความยากลำบากในการตั้งกิจการร่วมค้า • การกำหนดอัตราค่าตอบแทนสำหรับงานออกแบบไม่เหมาะสม

  32. สถิติการร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสถิติการร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • สำนักงานทบทวนเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (OGPR) - มีการร้องเรียนทั้งหมด 6 กรณี ตั้งแต่ปี 2539 ถึง 2549 - ส่วนใหญ่เป็นการร้องเรียนของบริษัทลูกของบริษัทต่างชาติต่อหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง - เช่น Overseas Bechtel Incorporatedร้องเรียน East Japan Railway Companyเรื่อง การประกาศคุณสมบัติของผู้เข้าร่วมเสนอราคาที่ไม่สอดคล้องกับความตกลง GPA • FTC - มีการฟ้องร้องเรื่องจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด 39 คดีจากทั้งหมด 48 คดี ในปี 2551 (ข้อมูลถึงวันที่ 31 ก.ค. 2551)

  33. กรณีศึกษาการฟ้องร้องเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของ FTC • FTC ฟ้องร้องบริษัทก่อสร้าง 34 แห่งในข้อหาฮั้วประมูล โครงการก่อสร้างหลายโครงการ เช่น การวางท่อระบายน้ำทิ้ง สร้างถนน • กลุ่มบริษัทที่ถูกฟ้องเป็นผู้ชนะประมูลโครงการก่อสร้างมากกว่าร้อยละ 80 ของโครงการทั้งหมดในเขต Tama ในกรุงโตเกียว • ราคาที่ชนะประมูลต่ำกว่าราคากลางเพียง 0.09% โดยเฉลี่ย เช่น โครงการวางท่อระบายน้ำทิ้งรวม 5 โครงการที่มีราคาชนะประมูล 1,634 ล้านเยน จากราคากลาง 1,655 ล้านเยน • เริ่มพิจารณาคดีตั้งแต่ปี 2545 และสิ้นสุดในปี 2551 (มีการอุทธรณ์ต่อ) • ศาลตัดสินให้ 30 บริษัทจ่ายค่าปรับรวมทั้งสิ้นกว่า 200 ล้านบาท (600 ล้านเยน)

  34. มูลค่าโครงการออกแบบและก่อสร้าง ในต่างประเทศโดยบริษัทก่อสร้างไทย พันล้านบาท แหล่งข้อมูล: สหพันธ์ธุรกิจออกแบบและก่อสร้างแห่งประเทศไทย (FEDCON)

  35. ตัวอย่างงานในต่างประเทศของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ของไทยตัวอย่างงานในต่างประเทศของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ของไทย • ตลาดหลักทรัพย์เวียดนาม • ระบบ Call Center • ภาคเอกชนในเวียดนาม ลาว กัมพูชา อินโดนีเซีย • ระบบโรงแรม และการท่องเที่ยว • ระบบการจัดการฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์: สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย (ATSI), สมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI) และสมาคมผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ไทยเพื่อการส่งออก

  36. การวิเคราะห์ประโยชน์จากการเปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของไทยการวิเคราะห์ประโยชน์จากการเปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของไทย เปรียบเทียบระหว่างการเปิดเสรีในกรอบ JTEPA และ GPA

  37. ประโยชน์ของการเปิดเสรีตลาดการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐประโยชน์ของการเปิดเสรีตลาดการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • ลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ จากการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น • เพิ่มความโปร่งใส ของการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • เพิ่มโอกาส ของภาคเอกชนไทยในการเข้าสู่ตลาดภาครัฐของประเทศภาคี

  38. แนวคิดในการวิเคราะห์ประโยชน์แนวคิดในการวิเคราะห์ประโยชน์ • ทฤษฎีการประมูล (auction theory) “เมื่อจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลเพิ่มขึ้น ราคาที่ชนะประมูลจะลดลง” • งานศึกษาเชิงประจักษ์ของต่างประเทศ กรณีงานก่อสร้าง Carr (2005) : “เมื่อจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลเพิ่มขึ้น 1 ราย ราคาที่ชนะประมูลลดลงจากราคากลางร้อยละ 4 แต่เมื่อจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลมากถึงระดับหนึ่ง ราคาชนะการประมูลที่ลดลงจากราคากลางจะลดในอัตราที่ช้าลง (diminishing return)” • “ประโยชน์”จากการเปิดเสรี= งบประมาณที่ประหยัดได้จาก ส่วนลดที่มากขึ้น เมื่อมี ผู้เข้าร่วมประมูลมากขึ้น

  39. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้เข้าประมูลกับส่วนลดจากราคากลางการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้เข้าประมูลกับส่วนลดจากราคากลาง เมื่อมีจำนวนผู้เข้าร่วมแข่งขันเพิ่มขึ้น ส่วนลดจากราคากลางจะเพิ่มขึ้น....

  40. วิธีการศึกษา วิเคราะห์สมการถดถอย (regression) เพื่อประมาณการความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนลดจากราคากลางและจำนวนผู้เข้าร่วมประมูล ประมาณการจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลที่เพิ่มขึ้นในกรณีที่มี การเปิดเสรีภายใต้กรอบ JTEPA และ GPA คำนวณส่วนลดจากราคากลางและงบประมาณที่ประหยัดได้ ของการเปิดเสรีด้านการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละกรณี

  41. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธี e-auction ของกรมบัญชีกลางปี 2548-2551 • คัดเลือกเฉพาะโครงการที่มีมูลค่าขั้นต่ำตามกรอบ GPA • ตัดข้อมูลที่น่าจะผิดพลาดออก เช่น โครงการที่มีผู้เข้าร่วมประมูล 1 ราย • ตัวอย่าง 3,165 โครงการ

  42. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ฐานข้อมูลโครงการจัดซื้อจัดจ้างของธนาคารโลก เฉพาะโครงการในประเทศไทย ปี 2543-2551 • คัดเลือกเฉพาะโครงการที่มีการคัดเลือกผู้ประกอบแบบแข่งขัน เช่น International Competitive Bidding • ตัวอย่าง 131 โครงการ

  43. ผู้ชนะการประมูลโครงการจัดซื้อจัดจ้างของธนาคารโลกผู้ชนะการประมูลโครงการจัดซื้อจัดจ้างของธนาคารโลก • ผู้ประกอบการญี่ปุ่นได้เฉพาะโครงการด้านสินค้าและบริการ ในสัดส่วนไม่สูง • ผู้ประกอบการไทยไม่น่าจะได้รับผลกระทบมากนัก แม้จะเปิดเสรีตลาดงานก่อสร้าง ทั้งกรณี JTEPA และ GPA

  44. ส่วนลดจาก ราคากลาง จำนวนผู้ร่วม ประมูล ปัจจัยอื่นๆ   * * • ประเภทสินค้าและบริการ • -ครุภัณฑ์ • -วัสดุ • -งานจ้างเหมา • -งานเช่า • -งานก่อสร้าง • หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง • -ส่วนกลาง • -รัฐวิสาหกิจ& • หน่วยงานอื่นๆ จำนวนผู้ร่วมประมูล กรณีเปิดเสรี ในกรอบ JTEPA และ ในกรอบ GPA ส่วนลดที่ได้ เนื่องจากการเปิดเสรี แบบจำลองการวิเคราะห์ส่วนลดจากราคากลาง

  45. ส่วนลดจากราคากลางเพิ่มขึ้นตามจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลส่วนลดจากราคากลางเพิ่มขึ้นตามจำนวนผู้เข้าร่วมประมูล ส่วนลดจาก ราคากลาง จำนวนผู้เข้าร่วมประมูล

  46. ราคาชนะประมูลที่ลดลงแยกตามประเภทการจัดซื้อจัดจ้างราคาชนะประมูลที่ลดลงแยกตามประเภทการจัดซื้อจัดจ้าง *ผลการประมาณการกรณีของส่วนราชการกลาง

  47. เปรียบเทียบจำนวนผู้เข้าร่วมแข่งขันในกรณีต่างๆ หน่วย: ราย

  48. เปรียบเทียบส่วนลดจากราคากลาง กรณีเปิดเสรีกรอบ JTEPA และ GPA JTEPA: ส่วนลดเพิ่มขึ้น 0.2% - 0.6% GPA: ส่วนลดเพิ่มขึ้น 0.4% - 2.6%

  49. งบประมาณที่คาดว่าจะประหยัดได้หากเปิดเสรีงบประมาณที่คาดว่าจะประหยัดได้หากเปิดเสรี JTEPA GPA *ประมาณการโดยคิดจากงบประมาณจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐปี 2550*

  50. สรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย • ประโยชน์ของประเทศไทยที่จะได้รับจากการเปิดเสรีตามกรอบ JTEPA ไม่สูงนัก • หากรัฐมีนโยบายเปิดเสรีตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ในระยะยาว ควรมุ่งไปสู่การเปิดเสรีในกรอบ GPA • ผลกระทบในด้านลบจากการเปิดเสรีต่อผู้ประกอบการไทยไม่น่าจะมากนัก • ควรเปลี่ยนนโยบายจากการคุ้มครองผู้ประกอบการไทย เป็นการส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม

More Related