1 / 15

การจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น Japan-Thailand Economic Partnership (JTEP)

การจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น Japan-Thailand Economic Partnership (JTEP). ความเดิม. 12 เม.ย. 2545 ระหว่างการประชุม Boao Forum for Asia ฯพณฯ นรม. และ นรม. ญป. ตกลงให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาการจัดทำ JTEPA มีการประชุมเตรียมการ 18 เดือน

stesha
Download Presentation

การจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น Japan-Thailand Economic Partnership (JTEP)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น Japan-Thailand Economic Partnership (JTEP)

  2. ความเดิม • 12 เม.ย. 2545 ระหว่างการประชุม Boao Forum for Asia ฯพณฯ นรม. และ นรม. ญป. ตกลงให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาการจัดทำ JTEPA • มีการประชุมเตรียมการ 18 เดือน - ประชุม Working Group 5 ครั้ง (ก.ย. 2545 - พ.ค. 2546) - ประชุม Task Force 3 ครั้ง (ก.ค. - พ.ย. 2546) • 11 ธ.ค. 2546 ฯพณฯ นรม. และ นรม. ญป. เห็นชอบให้เริ่มการเจรจา JTEPA อย่างเป็นทางการ • มีการเจรจาจัดทำ JTEPA มาแล้ว 3 ครั้ง - ครั้งที่ 1 ระหว่าง 16-17 ก.พ. 2547 ที่กรุงเทพฯ - ครั้งที่ 2 ระหว่าง 7-10 เม.ย. 2547 ที่กรุงโตเกียว - ครั้งที่ 3 ระหว่าง 16-18 มิ.ย. 2547 ที่อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี • ญี่ปุ่นจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมครั้งที่ 4 ระหว่าง 13-15 ก.ย. 2547

  3. นายพิศาล มาณวพัฒน์ หัวหน้าคณะเจรจาเขตการค้าเสรีไทย-ญี่ปุ่น ดร. วีรชัย พลาศรัย ผู้อำนวยการสำนักงาน ทีม logistics น.ส. เกตุตนา ก่อกิจ น.ส. ทิพวรรณ เฉลิมมีกล ทีมสารัตถะ ดร. วิลาวรรณ มังคละธนะกุล น.ส. อาจารี ศรีรัตนบัลล์ ดร. ปฤณัต อภิรัตน์ ดร. ธันยา คำจำนงค์ ดร. เขมรัฐ ธีรสุวรรณจักร น.ส. ธัญญรัตน์ มงคลรังสี ทีมผู้ช่วยวิจัย นายกิจติศักร์ หนูขาว นายภาณุพันธ์ โชติรังสียากุล นายสุเมธ เตชะกมลสุข

  4. สำนักงานเจรจาเขตการค้าเสรีไทย-ญี่ปุ่นสำนักงานเจรจาเขตการค้าเสรีไทย-ญี่ปุ่น JTEP Office คณะทำงานติดตามผลการเจรจา เขตการค้าเสรี เจ้าภาพหลักและรองในแต่ละสาขาความร่วมมือ กษ.: นายอำพล กิตติอำพน รองปลัดกระทรวงเกษตรฯพณ.: นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง รองอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กค.: นางแน่งน้อย ณ ระนอง รองอธิบดีกรมศุลกากร นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ รอง ผอ. สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง อก.: นายหทัย อู่ไทย ผอ.สำนักบริหารมาตรฐาน 1 ICT: ดร.ดวงทิพย์ สุรินทาธิป ที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศ สธ.: ดร.ทรงพรรณ สิงห์แก้ว กระทรวงอื่นๆ รง. วท. ศธ. และภาคเอกชน คณาจารย์ที่ปรึกษาในโครงการวิจัยวิเคราะห์สนับสนุนการเจรจาJTEPA ดร.ศุภัช ศุภชลาศัย เศรษฐศาสตร์ มธ. รศ.ดร.ประยงค์ เนตยารักษ์ เศรษฐศาสตร์ มธ. รศ.ดร.ปราการ อาภาศิลป์ เศรษฐศาสตร์ มธ. ผศ.ดร.พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ ดร.ธเนศ เมฆจำเริญ เศรษฐศาสตร์ มธ. ผศ.ดร.ชนินทร์ มีโภคี เศรษฐศาสตร์ มธ. รศ.สุธรรม อยู่ในธรรม นิติศาสตร์ จุฬาฯ รศ.ดร.กนิช บุญยัษฐิติ นิติศาสตร์ จุฬาฯ อ.เฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล NECTEC อ.ศิริพร วัชชวัลคุ รัฐศาสตร์ มธ. ทีมงาน Japan Watch สกว.

  5. การค้าสินค้า (Trade in Goods) • สถานะ: แลกเปลี่ยน initial offer เมื่อ 21 ก.ค.2547 ญี่ปุ่นยื่น initial request ด้วย ไทยจะยื่น initial request ให้ญี่ปุ่นวันที่ 7 กันยายน 2547 • Initial offer ของไทย • 5,100 รายการ = 92.64% ของรายการสินค้าทั้งหมด 74.23% ของมูลค่าการนำเข้าจากญี่ปุ่น • สินค้าที่ไทยจะได้รับประโยชน์มากจากการเปิดเสรี เช่น สินค้าเกษตร ผลไม้เมืองร้อน อาหารแปรรูป • สินค้าอุตสาหกรรมอ่อนไหวของไทย เช่น ยานยนต์และชิ้นส่วน เหล็ก ปิโตรเลียม

  6. ความร่วมมือด้านเกษตร • เน้นมาตรฐานสุขอนามัย (SPS) • เพื่อให้การเปิดตลาดสินค้าเกษตรเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • เพื่อนำไปสู่การยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรทั้งสองฝ่าย

  7. การค้าบริการ (Trade in Services) สถานะ: ยื่น Request lists กันแล้ว และกำลังจะยื่น Initial offer list ให้อีกฝ่าย (6 ก.ย.2547) ประเด็นหลักที่มีความเห็นแตกต่าง แนวทางการเปิดเสรี: negative list vs positive list ขอบเขตของข้อบท: Mode 3 (Commercial presence) ไทยผลักดัน Mode 3 และ Mode 4 อาทิ การเปิดเสรีบริการด้านสุขภาพและสปา การดูแลผู้สูงอายุ การรักษาพยาบาล หมอนวดแผนไทย ผู้ประกอบการร้านอาหารไทย การฝึกอบรมแรงงานฝีมือ อาทิ วิศวกร

  8. การบริการสุขภาพ • ปัจจุบัน ชาวญี่ปุ่นเข้ามารับการรักษาพยาบาลในไทย ประมาณ 160,000 คน • ไทยเสนอให้ชาวญี่ปุ่นเบิกค่ารักษาพยาบาลจากกองทุนสวัสดิการญี่ป่นได้ • บางฝ่ายของไทยเห็นว่า ข้อเสนออาจมีผลกระทบด้านบุคลากรแพทย์และพยาบาล

  9. การลงทุน (Investment) การเปิดเสรี - ญี่ปุ่นต้องการรวมทั้งภาคบริการ (Mode 3) และภาคที่ไม่ใช่ บริการ แต่ไทยต้องการให้ Mode 3 อยู่ในบทการค้าบริการ และต้องการให้ไทยเปิดเสรีทั้งหมด การคุ้มครอง - ญี่ปุ่นต้องการการคุ้มครองแก่การลงทุนในขอบเขตที่กว้าง กว่าที่ไทยให้โดยปกติ การส่งเสริม - กำหนดระบอบส่งเสริมการลงทุนของกันและกัน ญี่ปุ่นให้ความสำคัญ แต่ไทยก็สามารถรุกได้ โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และ SMEs

  10. ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) • ข้อเสนอหลักของไทย: • การคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ • การคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบ้าน • การสร้างกลไกในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของ SMEs • -การเป็นเจ้าของร่วมทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากการทำวิจัยร่วมกัน • ข้อเสนอหลักของญี่ปุ่น: • -การให้ไทยเข้าเป็นภาคีความตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา 11 ฉบับ • -การบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาให้มีประสิทธิภาพ • สถานะ: ทั้งสองฝ่ายกำลังพิจารณาข้อเสนอของกันและกัน บนพื้นฐานของ กฎหมายภายในของประเทศตนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

  11. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ(Government Procurement) • เป้าประสงค์: เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความโปร่งใส คุ้มค่าและมีความยุติธรรม และเกิดประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย โดยมีเป้าหมายสุดท้ายร่วมกันคือส่งเสริมการเปิดตลาดการค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่นให้มีความมั่นคงในอนาคต • สถานะ: มีเพียงการหารือและแลกเปลี่ยนข้อมูล ยังมิได้เจรจา • ญี่ปุ่นยืนยันการเจรจาตามกรอบ Government Procurement Agreement (GPA) • ขอบเขต: การเข้าถึงตลาด (market access) และความโปร่งใส (transparency)

  12. การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Education and Human Resources Development) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and communication Technology) การท่องเที่ยว (Tourism) การส่งเสริมและการลงทุน (Trade and Investment Promotion) ความร่วมมือ 10 สาขา ความร่วมมือด้านการบริการการเงิน (Financial Services Cooperation) วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม (Science, Technology, Energy and Environment) การค้าไร้กระดาษ (Paperless trading) ความร่วมมือด้านการเกษตร ป่าไม้และประมง (Agriculture Forestry and Fisheries Cooperation) การส่งเสริมบรรยากาศทางธุรกิจ (Enhancement of Business Environment) ฝ่ายญี่ปุ่นเสนอ

  13. ท่าทีไทย - นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืนทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านในอนุภูมิภาค ตามนโยบายของ ฯพณฯ นรม. - พัฒนาความรู้และทักษะ บุคลากรเพื่อปรับตัวให้สอดคล้องกับพัฒนาการ ทางเศรษฐกิจการเมือง และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและ ยกระดับขีดความสามารถด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ในสาขาที่ขาดแคลน ท่าทีญี่ปุ่น - สนับสนุนให้มีความร่วมมือในสาขาต่างๆแต่ไม่อยากระบุความร่วมมือ (areas of co-operation) อย่างละเอียดและชัดเจนเนื่องจากจะมีข้อผูกพันในเรื่องงบประมาณและกังวลเรื่องข้อผูกมัดในทางปฏิบัติ (เกรงว่าจะทำไม่ได้) - ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุนอย่างมากและเสนอให้จัดตั้งองค์กรเพื่อเป็นกลไกในการอำนวยความสะดวกให้แก่นักลงทุนชาวญี่ปุ่น โดยเน้นธุรกิจ SME แต่แนวคิดนี้ซ้ำซ้อนกับกลไกที่มีอยู่แล้วในประเทศไทย

  14. JTEP Website • ข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงาน • บทความและข่าวที่น่าสนใจ • ตารางการประชุมและสัมมนา • Q/A ไขข้อข้องใจ FTA www.mfa.go.th/jtepa

More Related