1 / 35

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา. รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ . 25-26 ตุลาคม 2548 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. โครงการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับมหาวิทยาลัยของรัฐ .

amil
Download Presentation

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับสถาบันอุดมศึกษาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับสถาบันอุดมศึกษา รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 25-26 ตุลาคม 2548 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

  2. โครงการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับมหาวิทยาลัยของรัฐ • เป็นระบบบูรณาการที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการจัดซื้อ จัดหาสารสนเทศและเพื่อสนับสนุนงานบริการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งแก่ห้องสมุด สมาชิก และ ชุมชน

  3. องค์ประกอบ • ระบบบริหารจัดการ (Policy management module) • ระบบการทำรายการ (Cataloging module) • ระบบการบริการยืมคืน (Circulation module) • ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก (OPAC and utility module) • ระบบควบคุมการบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials control module) • ระบบการจัดซื้อจัดหา (Acquisition module)

  4. 1. Policy management module • ทำหน้าที่ในการกำหนดเงื่อนไขและรูปแบบ (Parameter) ที่เกี่ยวข้องกับระบบ • การกำหนดสิทธิของการใช้ระบบ (Security control) • การกำหนดเงื่อนไขในการให้บริการต่างๆ • การบริหารจัดการข้อมูลสมาชิก

  5. 2. Cataloging module • เป็นระบบบริหารจัดการงานการทำรายการ (Cataloging) เพื่อใช้ในการจัดการข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ (Information resource) ของห้องสมุด • รองรับรูปแบบ Marc21 เพื่อสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างห้องสมุด • สามารถทำรายการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับทรัพยากรสารสนเทศใหม่ได้ (Original Catalog)

  6. สามารถทำรายการโดยการถ่ายโอนข้อมูลเข้าออกของระเบียนในรูปแบบ MARC21 ผ่าน Protocol Z39.50 • รองรับการจัดทำรายการทรัพยากรสารสนเทศรายชิ้น (Itemizing) • สามารถทำ Index จากข้อมูลที่ได้นำเข้าไปแล้ว

  7. ควบคุมความถูกต้องของรายการ (Authority Control) เพื่อตรวจสอบรายการหัวเรื่อง รายการชื่อผู้แต่ง ฯลฯ เพื่อป้องกันการซ้ำซ้อนของข้อมูล • สามารถออกรายงานในรูปแบบต่างๆเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ

  8. 3. Circulation module • เป็นส่วนที่ใช้ในการบริการแก่สมาชิกในเรื่องของการยืม การคืน และ การจอง โดยพัฒนาให้สามารถใช้กับห้องสมุดที่มีจุดให้บริการมากกว่า 1 แห่ง • สามารถกำหนด parameter ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ทั้งในด้านการยืม การคืน การยืมต่อ การจอง การปรับ การยกเลิกการให้บริการชั่วคราวและการรายงานสถิติ

  9. การบริการยืม • การบริการคืน • การให้บริการยืมต่อ (Renew) ณ จุดบริการและผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต • การจอง

  10. การยืม-คืน-จองข้ามจุดบริการภายในองค์กรเดียว โดยคำนึงถึงการบริหารจัดการที่คุ้มค่า สามารถใช้กับห้องสมุดที่มีจุดให้บริการมากกว่า 1 แห่ง • การปรับ การชำระค่าปรับ และการยกเว้นค่าปรับ

  11. ระบบใบเสร็จและรายงานทางการเงิน (Billing and Reporting) • สามารถตรวจสอบและยกเลิกการให้บริการชั่วคราว (Blocking) • การออกรายงานการใช้บริการและสถิติ (Management Reporting)

  12. 4. OPAC and utility module • ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่สมาชิกห้องสมุด ตลอดจนผู้สนใจ และสามารถติดต่อกับระบบผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ • สามารถสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศโดยกำหนดเงื่อนไขการสืบค้นได้ • สามารถสืบค้นสถานะของทรัพยากรสารสนเทศ

  13. สมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลสถานการณ์ยืมและสถานการณ์จองของตนเองสมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลสถานการณ์ยืมและสถานการณ์จองของตนเอง • สมาชิกสามารถปรับปรุง email address เพื่อการติดต่อได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อที่ห้องสมุดสามารถใช้เป็นช่องทางในการแจ้งเตือนกำหนดส่งคืนหนังสือ ตลอดจนการแจ้งรับหนังสือจองได้ด้วยตนเอง

  14. 5. Serials control module* • เป็นส่วนที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการทำงานดังนี้ • การจัดหาและลงทะเบียนสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง • การวิเคราะห์สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทำดรรชนี • การบริการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง • การเย็บเล่มสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง • การออกรายงานการใช้บริการและค่าสถิติ

  15. 6. Acquisition module* • เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้ใช้บางกลุ่ม เช่น อาจารย์ผู้สอน ผู้บริหารหลักสูตร คณบดี สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดหา • ระบบการคัดเลือก (Request & Selection System) • ระบบการสั่งซื้อและการบริหารรายงานทางการเงิน (Ordering and Reporting)

  16. Q & A

More Related