1 / 14

Machine and Labor Requirement

Machine and Labor Requirement. การหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการกรณี Product Layout.

aliza
Download Presentation

Machine and Labor Requirement

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Machine and Labor Requirement

  2. การหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการกรณี Product Layout

  3. ตัวอย่างที่ 1 จงหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องใช้ในการผลิตงานชนิดหนึ่งซึ่งผ่านกระบวนการ ตัด กลึง เจียรนัยตามลำดับ จากการคาดคะเนการขายได้ผลว่าจะขายได้ 48,000 หน่วย/ปี สมมุติว่าในปีหนึ่งมีการทำงาน 300 วัน วันละ 8 ชั่วโมง และให้คิดเผื่อของเสียไว้ 10 % ให้กับเครื่องจักรทุกเครื่อง เวลามาตรฐานของเครื่อง ตัด กลึง เจียรนัย คือ 5, 2.5 และ 5 นาที ตามลำดับ

  4. Dij= อัตราความต้องการของงาน i , R = % ของงานที่ใช้ได้ของเครื่อง j Pij= 48,000 = 53,333,333 หน่วยต่อปี 0.90 Tij= เวลาของการผลิตงาน i บนเครื่องจักร j Ti1 =5 นาที/หน่วย = 0.083 ชม.หน่วย Ti2 =2.5 นาที/หน่วย = 0.042 ชม.หน่วย Ti1 =15 นาที/หน่วย = 0.025 ชม.หน่วย ti1 =ti2 =ti3 =300 x 8 = 2,400 ชม./ปี M1 =53,333,333 x 0.083 = 1.84 เครื่อง 2,400 M1 =53,333,333 x 0.042 = 0.93 เครื่อง 2,400 M1 =53,333,333 x 0.25 = 5.56 เครื่อง 2,400

  5. การหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการกรณี Process Layout Nij= จำนวนครั้งในการติดตั้งงาน i บนเครื่อง j ในช่วงเวลาการผลิต Sij= เวลาที่ใช้ในการติดตั้งก่อนการผลิตงาน i บนเครื่อง j หน่วย นาที Cij= เวลาที่ใช้ในการทำงานหรือการตัดแต่งจริงของ งาน i บนเครื่อง j ในช่วงเวลาการผลิต = Pij Tij= Dij Tij R Tij= เวลามาตรฐานในการผลิตต่อหน่วย (ชม./หน่วย)

  6. ตัวอย่างที่ 2 จงคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องใช้ในการผลิต

  7. การหาจำนวนคนงานที่ต้องการกรณี งานประกอบ

  8. การหาจำนวนคนงานที่ต้องการกรณี เครื่องจักรไม่อัตโนมัติ จำนวนคนงานที่ต้องการขึ้นอยู่กับจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการ และ ความต้องการของคนงานต่อเครื่องจักร 1 เครื่อง การหาจำนวนคนงานที่ต้องการกรณี เครื่องจักรอัตโนมัติ สามารถให้คนงานคุมเครื่องจักรมากกว่า 1 เครื่องได้แยกเป็น 2 กรณี • เครื่องจักรไม่เหมือนกัน • เครื่องจักรมีลักษณะเหมือนกัน

  9. กรณีเครื่องจักรเหมือนกันกรณีเครื่องจักรเหมือนกัน N = a+t a+b a = Concurrent Activity Time b = Independent Operator Activity Time t = Independent Machine Activity Time N = Number of Machines to Assign an Operator (Theoretical) m =Number of Machines Assigned an Operator TC = Repeating Cycle Time IO = Idle Operator Time during Repeating Cycle Time Im =Idle Time per Machine during Repeating Cycle Time

  10. TC(m) =Cost per Unit Produced, base on an Assignment of m Machines per Operator C1 = Cost per Opertor-hour C2 = Cost per Machine-hour TC(m)= (C1 + mC2) TC m ถ้า m N TC = a + t , IO = (a + t) – m(a + b) Im = 0 , TC(m) = (C1 + mC2) (a + t)/m ถ้า m  TC = m(a + b) , IO = 0 Im = m(a + b) – (a +t) , TC(m)= (C1 + mC2) (a + b)

  11.  = TC(n) TC(n +1) = (C1 + nC2)(a +t) [C1 + (n +1) C2 ] n (a + b) ถ้า  = C1 จะได้ว่าการตัดสินใจมีดังนี C2 1. ถ้า  < 1 ให้คุม n เครื่อง 2. ถ้า  > 1 ให้คุม n + 1 เครื่อง 3. ถ้า  = 1 ให้คุม n เครื่อง หรือ n+1 เครื่อง หนังสืออ้างอิง Francis, R. L., McGinnis, L. F., and White, J. A., Facility Layout and Location : An Analytical Approach, 2nd ed., Prentice –Hall ชัยนนท์ ศรีสุภินานนท์, การออกแบบผังโรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1, พระจอมเกล้าธนบุรี

  12. ตัวอย่าง การผลิตงานด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติชนิดหนึ่งใช้เวลาสำหรับขั้นตอนต่างๆดังนี้ Load ใช้เวลา 2 นาที Unload ใช้เวลา 2 นาที Inspection ใช้เวลา 1 นาที (after unloading) Run ใช้เวลา 10 นาที C1 120 บาท/ชม. , C2 400 บาท/ชม. 1. จงคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่เป็นไปได้ 2. จงเขียนแผนภูมิ Man-Machine chart ของกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด 3. จงคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่เหมาะสม

More Related