260 likes | 583 Views
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ดร.ธวัช ชิตตระการ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา 23 กุมภาพันธ์ 2550. หัวข้อบรรยาย 1. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาบัน 2. วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 3. คุณสมบัติ หน้าที่และจรรยาบรรณของผู้ประเมินคุณภาพ.
E N D
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ดร.ธวัช ชิตตระการรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา23 กุมภาพันธ์ 2550
หัวข้อบรรยาย1. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาบัน2. วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน3. คุณสมบัติ หน้าที่และจรรยาบรรณของผู้ประเมินคุณภาพ
ทำไมจึงต้องประกันคุณภาพทำไมจึงต้องประกันคุณภาพ • ศักดิ์ศรีแห่งปริญญา • ความรับผิดชอบซึ่งตรวจสอบได้ • การแข่งขันในเชิงคุณภาพของการจัดการศึกษา • สร้างความมั่นใจให้กับสังคม • ต้องให้ข้อมูลสาธารณะ • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทำหน้าที่ พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินภายนอก และทำหน้าที่การประเมินผลการจัดการศึกษา
สมการการประกันคุณภาพ (Quality Assurance= QA) QA = QC + QAu + QAs QC = (QualityControl) QAu = การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) QAs = การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment = QAs) • IQAs (Internal Quality Assessment)เป็นการประเมินภายในสถาบัน ดำเนินการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • EQAs (External Quality Assessment)เป็นการประเมินตามเกณฑ์ของ สมศ. ประเมินทุก ๆ 5 ปี
การรับรองมาตรฐาน (Quality Accreditation) การรับรองมาตรฐานภายนอกตามหลักเกณฑ์ของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
หลักการประกันคุณภาพ • ความมุ่งมั่นและการสนับสนุนของผู้บริหาร • ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง • ทีม/การมีส่วนร่วม • มาตรฐานหรือตัวบ่งชี้คุณภาพ • พัฒนาคนให้สามารถทำงานได้เต็มศักยภาพ • ขจัดความเสี่ยงและพัฒนากระบวนการทำงานด้วย PDCA-Par
หลักการประกันคุณภาพ(ต่อ)หลักการประกันคุณภาพ(ต่อ) • ใช้เครื่องมือคุณภาพ/วิจัย/เทคโนโลยี • โปร่งใส ตรวจสอบได้ ลูกค้าพอใจ สังคมพอใจ • ประโยชน์สูง ประหยัดสุด • การสร้างทายาท
โครงสร้างการบริหารงาน สำนักงานประกันคุณภาพ
ระบบประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นโยบาย เป้าหมาย แผนคุณภาพ ผู้รับผิดชอบ มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ - ชี้กระบวนการด้วย PDCA- P - ชี้ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก การจัดทำ SAR การประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายใน
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายในวัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายใน • เสริมสร้างความตระหนักต่อการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานและบริการ • ศึกษางานตนเองอย่างถ่องแท้ • ชื่นชมและเรียนรู้การดำเนินงาน ผลงาน และผลกระทบต่อสังคม • เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายใน (ต่อ) • มองหาจุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อขจัดความเสี่ยง แก้ไขข้อผิดพลาด และหาโอกาสพัฒนาเพื่อให้มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • ยืนยันความมีคุณภาพของการดำเนินงานปัจจุบันให้กับตนเอง สังคม และประเทศชาติ • เตรียมความพร้อมสำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก/การเปลี่ยนแปลง
แผนภาพ สรุปวัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายใน รู้จักตนเอง • โดยตนเอง • โดยคณะกรรมการประเมิน ชื่นชมตนเอง ชื่นชมซึ่งกันและกัน ยืนยันคุณภาพต่อตนเอง สังคม ประเทศชาติ
ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมินคุณภาพภายในความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมินคุณภาพภายใน • เป็นข้อมูลในการปรับปรุงตนเอง • เป็นงานที่ต้องทำเป็นประจำอยู่แล้ว • เป็นงานที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง • เป็นงานของทุกคน • เป็นการสะท้อนความเป็นจริงไม่เอนเอียง
ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมินคุณภาพภายใน (ต่อ) • เป็นสิ่งที่เต็มใจทำ • เป็นสิ่งที่ถูกต้อง มีหลักการ ไม่ใช่ถูกใจ • เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องร่วมมือ • เป็นกลไกสำคัญที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างมีจิตสำนึก • เป็นสิ่งที่ต้องมีการเผยแพร่และรับรู้
หลักการในการประเมินคุณภาพภายในหลักการในการประเมินคุณภาพภายใน • องค์การต้องให้ความรู้แก่ผู้ประเมินคุณภาพภายในจนมีความสามารถเพียงพอที่จะทำการประเมิน • องค์การดำเนินการให้มีคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในเพื่อรับผิดชอบประเมินคุณภาพภายในขององค์การนั้น ๆ • ประเมินเฉพาะสิ่งที่ระบุไว้ในมาตรฐานเท่านั้น • วางแผนการประเมินล่วงหน้าและแจ้งผลการประเมินแก่ คณะ/หน่วยงาน ที่รับการประเมินทราบล่วงหน้า • ประเมินอย่างเปิดเผยและแจ้งผลการประเมินด้วยวาจา และเอกสารเป็น ลายลักษณ์อักษรแก่ คณะ/หน่วยงาน ที่รับการประเมิน
คุณสมบัติของคณะผู้ประเมินคุณภาพภายในคุณสมบัติของคณะผู้ประเมินคุณภาพภายใน คุณสมบัติเฉพาะ • มีประสบการณ์การสอน/การทำงานภายในสถานศึกษาหรือเป็นผู้บริหารสถานศึกษา หรือเป็นบุคลากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่ตรวจสอบ • ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรการประเมินคุณภาพภายใน • มีความรู้ความเข้าใจในระบบประกันคุณภาพการศึกษา • มีความเชื่อมั่นในระบบประกันคุณภาพการศึกษา • มีความเข้าใจกระบวนการทำงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้
คุณสมบัติของคณะผู้ประเมินคุณภาพภายใน (ต่อ) คุณสมบัติทั่วไป • มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม • มีทักษะในการติดต่อสื่อสารอย่างกัลยาณมิตร • มีทัศนะที่กว้างและลึก • มีความหนักแน่น สุขุม รอบคอบ • มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ • มีความโปร่งใสและเป็นกลาง
จรรยาบรรณของผู้ประเมินจรรยาบรรณของผู้ประเมิน • ตรวจเยี่ยมและประเมินสถาบันอุดมศึกษาอย่างตรงไปตรงมาตามความชำนาญในวิชาชีพ • มีความเที่ยงตรงเป็นกลางและรายงานสิ่งที่ค้นพบตามความเป็นจริงอย่างชัดเจน มีเหตุผลและหลักฐานสนับสนุน ไม่ใช้ความรู้สึกหรือลำเอียงเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง • สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายรับรู้อย่างชัดเจนและเปิดเผย • รักษาความลับของข้อมูลสารสนเทศส่วนบุคคลที่ได้รับระหว่างการตรวจเยี่ยมและประเมิน
จรรยาบรรณของผู้ประเมิน (ต่อ) • ไม่เรียกร้องในสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพสถาบันอุดมศึกษา • ไม่แสวงหาผลประโยชน์ หรือทำธุรกิจอื่นใดในการตรวจเยี่ยมและการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก • ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ โดยคำนึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนและสถาบันอุดมศึกษาเป็นหลัก
รูปแบบการประเมินแบบกัลยาณมิตรรูปแบบการประเมินแบบกัลยาณมิตร การประเมินคุณภาพภายใน ต้องใช้รูปแบบกัลยาณมิตรประเมิน (Amicable Assessment Model)ดังนี้ • ผู้ประเมินเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นที่ยอมรับ • ผู้ประเมินมีความเข้าใจหน่วยงานที่ขอรับการประเมินอย่างลึกซึ้ง และมีเจตคติที่ดีต่อหน่วยงาน • กำหนดประเด็นและออกแบบประเมินให้สอดคล้องกับพันธกิจ ทิศทาง และเอกลักษณ์ของหน่วยงาน
ถาม – ตอบ QA