1 / 37

Plate Tectonics

Plate Tectonics. การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค. ครู กุลวรรณ สวนแก้ว รร. เชียงยืนพิทยาคม. 1. Why do the plate move ?. The plates move due to convection currents in the mantle H eat transferred by movement of a fluid (magma) Called “ Convection Cells”.

zorion
Download Presentation

Plate Tectonics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Plate Tectonics การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค ครูกุลวรรณ สวนแก้ว รร.เชียงยืนพิทยาคม

  2. 1. Why do the plate move ? • The plates move due to convection currents in the mantle • Heat transferred by movement of a fluid (magma) • Called “Convection Cells”

  3. กระบวนการที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีกระบวนการที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี กลไกที่ทำให้แผ่นเปลือกโลกเกิดการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา คือ การพาความร้อน (Convection) ในชั้นเนื้อโลก (mantle) ส่วนล่างของเทือกสันเขาใต้สมุทร จะมีแมกมาไหลเวียนขึ้นมา แทรกดันขึ้นมาบนผิวโลกทำให้แผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ห่างออกจากรอยแยก เมื่อแมกมา มีอุณหภูมิลดลง จะมีความหนาแน่นมากขึ้นและจะมุดตัวลงสู่ชั้นเนื้อโลกบริเวณร่องลึกใต้สมุทร

  4. รูปแบบการเคลื่อนที่ของสารในชั้นเนื้อโลกจากการพาความร้อน เรียกว่า วงจรการพาความร้อน (Convection Cells)

  5. plate tectonicทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค เปลือกโลกหรือ ชั้นธรณีภาค ซึ่งมีสมบัติเป็นของแข็ง ถูกทำให้แตกออกเป็นแผ่นๆ เรียก แผ่นเปลือกโลก หรือ ธรณีภาค(Plate) ซึ่งมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาบน ชั้น ฐานธรณีภาค ทำให้ขนาดและตำแหน่งของแผ่นเปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และบริเวณของแผ่นเปลือกโลก จะมีเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาเกิดขึ้นอย่างรุนแรง

  6. How many plates inthe Earth ?

  7. Plate , Lithosphere นักธรณีวิทยาแบ่งแผ่นธรณีภาคของโลกออกเป็น 2 ประเภท คือ แผ่นธรณีทวีป และแผ่นธรณีมหาสมุทร รวมทั้งหมด 13 แผ่น ได้แก่1. แผ่นยูเรเชีย 2. แผ่นแอฟริกา 3. แผ่นอเมริกาเหนือ 4. แผ่นอเมริกาใต้ 5. แผ่นแปซิฟิก 6. แผ่นอินโด-ออสเตรเลีย7. แผ่นแอนตาร์กติก 8. แผ่นนาสคา 9. แผ่นแคริเบียน 10. แผ่นคอคอส 11. แผ่นฟิลิปปินส์ 12. แผ่นอะราเบียน 13. แผ่นสโคเทีย

  8. What are these types of plate boundaries? What are the key characteristics for each? Give an example of where each can be found.

  9. Types of Plate Boundaries 1. Divergent plateboundaries: แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน 2. Convergent plateboundaries: แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน 2.1 Oceanic vs. oceanic แผ่นธรณีมหาสมุทร ชนกับ แผ่นธรณีมหาสมุทร 2.2 Continent vs. oceanic แผ่นธรณีมหาสมุทร ชนกับ แผ่นธรณีทวีป 2.3 Continent vs. continent แผ่นธรณีทวีป ชนกับ แผ่นธรณีทวีป 3.Transform plateboundaries: แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ผ่านกันหรือเคลื่อนที่เฉือนกัน

  10. Types of Plate Boundaries: Divergent Convergent Transform

  11. 1. Divergent plateboundaries: แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน • Mid-ocean Ridge • Rift valley :หุบเขาทรุด • sea floor spreading: การขยายตัวของพื้นทะเล • Fissure volcanoes

  12. Divergent plate boundaries are caused when two plates move away from each other (diverge). • When they move apart from each other a ‘gap’ is created. The gap is filled with hot, molten lava that solidifies when it reaches the surface (meeting either the sea or air). • Land is therefore formed. Earthquakes and volcanoes are associated with constructive plate margins.

  13. 2. Convergent plateboundaries: แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน • 2.1 Oceanic vs. oceanic • Trench : ร่องลึกใต้สมุทร • Island arc : หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง • Great earthquake:แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ • Active volcano :ภูเขาไฟที่มีพลัง

  14. 2. Convergent plateboundaries: แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน ต่อ • 2.2 Continent vs. oceanic • Volcanic Mountain range : แนวภูเขาไฟชายฝั่ง • Trench : ร่องลึกใต้สมุทร • Deep earthquakes

  15. 2. Convergent plateboundaries: แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน ต่อ • 2.3 Continent vs. continent • Mountain range : เทือกเขา • เทือกเขาหิมาลัยเทือกเขาแอลป์

  16. 3. Transform plateboundaries: แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ผ่านกันหรือเคลื่อนที่เฉือนกัน • transform fault : รอยเลื่อนเฉือนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ • shallow earthquakes:แผ่นดินไหวรุนแรงในระดับตื้นๆ

  17. จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ???

  18. จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ???

  19. จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ???

  20. Name this plate boundary G A B E F D C Match the labels to the letters The oceanic crust sinks under the less dense continental crust Earthquakes occur due to friction Oceanic plate The oceanic crust melts and rises Mantle Continental crust Explosive volcanoes

  21. G A B E F D C

  22. Name this plate boundary Explosive volcanoes G Earthquakes occur due to friction Continental crust A B E Oceanic plate The oceanic crust melts and rises F D C The oceanic crust sinks under the less dense continental crust Mantle Match the labels to the letters

  23. Deformation of plate: การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก 1.fold (ชั้นหินคดโค้ง) 2. fault (รอยเลื่อน )

  24. 1.Fold (ชั้นหินคดโค้ง ) เกิดจากความเค้น(stress) และความเครียด (strain) ของเปลือกโลก เมื่อมีแรงบีบอัดทำให้เกิดการโค้งงอของชั้นหิน และไม่สามารถคืนตัวกลับสู่สภาพเดิมได้ แบ่งเป็นสองประเภท คือ 1. Anticline (ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน) เป็นการโค้ง ที่มีส่วนโค้งตั้งขึ้นเหมือนหลังคาเรือ 2. Syncline (ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย) เป็นการโค้งที่มีส่วนโค้งคว่ำลง

  25. การโค้งงอของชั้นหินจะมีการสมมติเส้นระนาบที่แบ่งผ่านส่วนโค้งที่สุดของชั้นหิน เรียกว่า ระนาบแกนชั้นหินคดโค้ง (axial plane) ซึ่งจะมีทิศตั้งฉากกับแรงที่กระทำต่อหิน

  26. 2. Fault (รอยเลื่อน) รอยเลื่อน แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ระนาบรอยแตกตัดผ่านหิน ซึ่งมีการเคลื่อนที่ผ่านกัน และหินเกิดการเคลื่อนที่ตามรอยแตกนั้น โดยหินที่วางตัวอยู่บนระนาบรอยเลื่อน เรียกว่า หินเพดาน (hanging wall) ส่วนหินที่อยู่ด้านล่างของระนาบรอยเลื่อน เรียกว่า หินพื้น (foot wall)

  27. 1. รอยเลื่อนปกติ (normal fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบรอยเลื่อน โดยหินเพดานมีการเคลื่อนที่ลง หินพื้นจะเคลื่อนที่ขึ้น โดยทั่วไป จะมีมุมเทมากกว่า 45 องศา

  28. 2. รอยเลื่อนย้อน (reverse fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบรอยเลื่อน แต่ทิศทางจะกลับกันกับ รอยเลื่อนปกติ โดยหินเพดานมีการเคลื่อนที่ขึ้น หินพื้นจะเคลื่อนที่ลง โดยทั่วไป จะมีมุมเทมากกว่า 45 องศา แต่ถ้าน้อยกว่า 45 องศา จะเรียกว่า รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ (trust fault)

  29. 3. รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีมุมเท 90 องศา และ หินจะเคลื่อนที่ในทิศเดียวกันกับแนวระดับของระนาบรอยเลื่อน

More Related