1 / 17

การเปรียบเทียบโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ข้าราชการท้องถิ่น และข้าราชการทหาร

การเปรียบเทียบโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ข้าราชการท้องถิ่น และข้าราชการทหาร วันที่ ๓ พ.ค.๕๕ เวลา ๑๓๐๐ - ๑๔๓๐. สบค .กอ. รมน. 1. 2. 3. 4. 5. ลำดับการบรรยาย. ระบบการจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือน. การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการพลเรือน / ท้องถิ่น / ทหาร. การรับโอนข้าราชการ.

zola
Download Presentation

การเปรียบเทียบโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ข้าราชการท้องถิ่น และข้าราชการทหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเปรียบเทียบโอนตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ข้าราชการท้องถิ่น และข้าราชการทหาร วันที่ ๓ พ.ค.๕๕ เวลา ๑๓๐๐ - ๑๔๓๐ สบค.กอ.รมน.

  2. 1 2 3 4 5 ลำดับการบรรยาย ระบบการจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือน การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการพลเรือน / ท้องถิ่น / ทหาร การรับโอนข้าราชการ การเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูง การประเมินผลการปฏิบัติราชการ สบค.กอ.รมน.

  3. ระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ปัจจุบัน (พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑) อดีต (พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๓๕) ระดับสูง (C10, C11บส.) หน.สรก. ระดับทรงคุณวุฒิ(C10, C11 เดิม) วช/ชช ระดับ 11 (บส/ชช/วช) ระดับสูง (C9 บส.เดิม) ผอ.สำนัก/เทียบเท่า ระดับต้น (ระดับ 9 เดิม) บส. รองหน.สรก. ระดับ 10 (บส/ชช/วช) ระดับเชี่ยวชาญ(C9 เดิม) วช/ชช ระดับทักษะพิเศษ (C9 ขึ้นไป) ระดับ 9 (บส/ชช/วช) ระดับต้น (C8บก.เดิม) ผอ.กองหรือเทียบเท่า ระดับชำนาญการพิเศษ (C8เดิม) ว/วช ระดับ 8 (บก/ว/วช) ระดับอาวุโส (C7, C8 เดิม) ระดับชำนาญการ(C6, C7 เดิม) ว/วช ระดับ 7 (ว/วช) ระดับชำนาญงาน(C5, C6 เดิม) ระดับปฏิบัติการ(C3-C5 เดิม) ระดับ 3-5/6ว ระดับ 2-4/5/6 ระดับ 1-3/4/5 ระดับปฏิบัติงาน(C1-C4 เดิม) ประเภททั่วไป ประเภท อำนวยการ ประเภท วิชาการ ประเภท บริหาร สบค.กอ.รมน.

  4. ระดับตำแหน่งตาม พ.ร.บ. 2535 ระดับตำแหน่งตาม พ.ร.บ. 2551 สายงานที่เริ่มต้นจากคุณวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี ระดับ 1 – 4 ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน (O1) ระดับ 5 – 6 ประเภททั่วไป ชำนาญงาน (O2) ระดับ 7 – 8 ประเภททั่วไป อาวุโส (O3) ระดับ 9 ขึ้นไป ประเภททั่วไป ทักษะพิเศษ (O4) สายงานที่เริ่มต้นจากคุณวุฒิปริญญาตรี / ปริญญาโท / ปริญญาเอก ระดับ 3 – 5 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ปฏิบัติการ (K1) ระดับ 6 – 7 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ชำนาญการ (K2) ระดับ 8 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ชำนาญการพิเศษ(K3) ระดับ 9 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ เชี่ยวชาญ (K4) ระดับ 10 – 11 ของสายงานเริ่ม 3 หรือ 4 ประเภทวิชาการ ทรงคุณวุฒิ (K5) สบค.กอ.รมน.

  5. การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯการเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯ สบค.กอ.รมน.

  6. การเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯการเปรียบเทียบตำแหน่งข้าราชการฯ สบค.กอ.รมน.

  7. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) • รหัสตำแหน่ง • ประเภทตำแหน่ง • ชื่อสายงาน / ชื่อตำแหน่ง / ระดับตำแหน่ง • ลักษณะงานโดยทั่วไป : หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (ประกอบด้วย คุณวุฒิการศึกษา ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติราชการ หรืองานที่เกี่ยวข้อง คุณสมบัติพิเศษ) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง สบค.กอ.รมน.

  8. ตัวอย่าง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) • 4-1-001-1 • ตำแหน่งประเภท :ทั่วไป • ชื่อสายงาน :ปฏิบัติงานธุรการ • ชื่อตำแหน่ง -เจ้าพนักงานธุรการ • ระดับ-ปฏิบัติงาน • ลักษณะงานโดยทั่วไป :ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอนและวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย .......... • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง :ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ / วิชาชีพเทคนิค /วิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน สบค.กอ.รมน.

  9. ตัวอย่าง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) (ต่อ) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ • การบริการที่ดี • การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • การยึดมั่นในความถูกต้อง • การทำงานเป็นทีม สบค.กอ.รมน.

  10. สมรรถนะ : การให้บริการ สบค.กอ.รมน.

  11. ระดับสมรรถนะ ในแต่ละระดับตำแหน่ง สบค.กอ.รมน.

  12. การรับโอนข้าราชการ • การโอนสามารถทำได้เมื่อผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุของทั้งสองฝ่ายได้ตกลงยินยอมในการโอน โดยให้แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ในระดับที่ไม่สูงกว่าเดิม และรับเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม ทั้งนี้ ไม่เกินอัตราเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่งที่รับโอนนั้น • ผู้ขอโอนต้องมีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Spec) • กรณีผู้ขอโอนที่เริ่มต้นบรรจุจากระดับที่ต่ำกว่าปริญญาตรี หากจะโอนมาในตำแหน่งที่เริ่มต้นจากปริญญาตรี ในการเปลี่ยนตำแหน่งนั้นจะต้องผ่านกระบวนการที่ได้มาตรฐานตาม ที่ ก.พ. กำหนด (เช่นเดียวกับการสอบแข่งขัน ภาค ก. ภาค ข. ภาค ค.) สบค.กอ.รมน.

  13. การเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูงการเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูง • มีตำแหน่งในระดับที่จะแต่งตั้ง • คุณสมบัติตรงตาม Spec • ดำเนินการตามหลักเกณฑ์วิธีการ สบค.กอ.รมน.

  14. ผลสัมฤทธิ์ของงาน ร้อยละ ๗๐ พฤติกรรม/ สมรรถนะ ร้อยละ ๓๐ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ หลักการ ผอ.รมน. (ลธ.รมน. ปฏิบัติราชการแทน) อนุมัติแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการประจำ กอ.รมน. ตาม หนังสือ สบค.กอ.รมน. ที่ นร ๕๑๐๑/๑๗๘๒ ลง ๑๗ สค.๕๔ เรื่อง ขออนุมัติแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการประจำ กอ.รมน. สาระสำคัญ ๑. องค์ประกอบในการประเมินผลฯ พิจารณาจากความสำเร็จของ งานราชการที่ตกลงร่วมกัน ระหว่างผู้บังคับบัญชาผู้ประเมิน และผู้ถูกประเมิน พิจารณาประเมินจากสมรรถนะหลัก ๕ ตัว สบค.กอ.รมน.

  15. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ๒. แบบฟอร์มที่ใช้ในการประเมินผลฯ ๓. แบบประเมินพฤติกรรม การปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ ๑. แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๒. แบบประเมินผล สัมฤทธิ์ของงาน สบค.กอ.รมน.

  16. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ๓. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ ยกเลิกโควตา ๑๕% งบประมาณ/ครึ่งปี : ๓%ของเงินเดือนทุกคนในส่วนราชการ เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของฐานในการคำนวณ (ค่ากลาง) ประเมิน ผลงานประจำปี ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน ๖% ของค่ากลาง • ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน ๖% ในรอบครึ่งปี / ผลงานระดับที่ • ลดหลั่นลงมาให้อิสระแต่ละส่วนราชการกำหนดเอง • กำหนดค่ากลาง ๒ ค่า ในแต่ละระดับ • ไม่บังคับสัดส่วนจำนวนคนแต่ละระดับ (Force Distribution) • ส่วนราชการบริหารงบประมาณเอง (๓%) • เลื่อนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของช่วงเงินเดือนแต่ละสายงาน • เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละของ • ค่ากลาง ปีละ ๒ ครั้ง / ไม่น้อยกว่า ๕ ระดับ : ประกาศระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนในแต่ละระดับ : ประกาศรายชื่อผู้มีผลงานระดับดีมาก/ดีเด่น : แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะตัวบุคคล สบค.กอ.รมน.

  17. ถาม - ตอบ sri_wan@hotmail.com โทร 83364 สบค.กอ.รมน.

More Related