1 / 58

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). 1. สทศ. คือใคร

ziv
Download Presentation

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 1. สทศ. คือใคร คือ องค์การมหาชน ตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2548 เพื่อเป็นหน่วยงานทดสอบระดับชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ “เพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและระดับนานาชาติ”

  2. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 2. สทศ. ทำอะไร - ทำข้อสอบที่ได้คุณภาพ - จัดสอบด้วยระบบที่โปร่งใส ยุติธรรม - ส่งคะแนนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปปรับปรุง - รับรองระบบการทดสอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ทำวิจัย ระบบทดสอบ และเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านการทดสอบ - เป็นหน่วยงานระดับชาติ และระดับนานาชาติ

  3. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 3. สทศ. ทำเพื่ออะไร - เพื่อประเทศไทยจะได้มีคะแนนกลางไว้เทียบระหว่าง หน่วยงาน ผู้เข้าสอบ และระหว่างปี เพื่อให้เห็น พัฒนาการของตนและประเทศ - โรงเรียนจะได้นำไปปรับปรุงการเรียนการสอน - ต้นสังกัดจะได้นำไปวางแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - รัฐมนตรีฯ จะได้นำไปกำหนดนโยบายการศึกษาของ ประเทศ

  4. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 8. ในอนาคต สอบอะไรบ้าง กี่วิชา

  5. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 9. สอบแล้วขอดูกระดาษคำตอบได้ โดยยื่นคำร้อง และเสียค่าบริการวิชาละ 20 บาท 10. ผลสอบดูได้ที่ไหนและอย่างไร 10.1 ประกาศผลสอบ 1) โรงเรียนเปิดหน้าจอดูได้เฉพาะผลการสอบของตน 2) ศูนย์สอบ 18 แห่ง สำหรับ ม.6 และ 180 แห่ง สำหรับ ป.6 และ ม.3 3) สมาคมผู้ประกอบการInternet 12 website 4) website ของ สทศ. www.niets.or.th 10.2 ขอผลสอบได้ที่ไหน อย่างไร ยื่นคำร้อง เสียค่าธรรมเนียม 20 บาท ที่ สทศ.

  6. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 11. สทศ. ออกข้อสอบอย่างไร จึงเรียกว่ามีคุณภาพ (1)รวบรวมแบบเรียนของรัฐและเอกชนทุกเล่มมาสังเคราะห์ เพื่อหาเนื้อหาร่วม (2)กำหนดวัตถุประสงค์ในการสอนและการเรียนรู้ระดับชาติ (3)ทำ Test Blueprint ที่ละเอียดทั้งเนื้อหาร่วมและวัตถุประสงค์ และให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ (4)เชิญครูเก่งมาออกข้อสอบ (5)เชิญครูเก่งกว่ามากลั่นกรองเพื่อตรวจสอบ item content-objective validity และปรับปรุง เพื่อเข้าคลังที่ 1 แยกตามความยาก ง่าย

  7. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 11. สทศ. ออกข้อสอบอย่างไร จึงเรียกว่ามีคุณภาพ (6)เชิญอาจารย์มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญด้านเนื้อหามาตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและเฉลย แล้วปรับปรุงเพื่อเข้าคลังที่ 2 (7)เชิญอาจารย์มหาวิทยาลัยที่เก่งมากๆ มาดึงข้อสอบออกจากคลังที่ 2 เพื่อจัดทำชุด โดยให้ได้ข้อสอบที่เหมาะสมกับเวลา ความยาก ง่าย เนื้อหา และวัตถุประสงค์ จัดเป็นชุด ตรวจทาน ก่อนส่งโรงพิมพ์ และหลังจากโรงพิมพ์ตรวจทานอีกครั้งจนแน่ใจ จึงจัดพิมพ์ฉบับตามจำนวนผู้เข้าสอบ และสำรองเพิ่มอีก 7 %

  8. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 11. สทศ. ออกข้อสอบอย่างไร จึงเรียกว่ามีคุณภาพ (8)เมื่อออกจากโรงพิมพ์ จัดทำใส่ซองรวมข้อสอบ และกระดาษคำตอบซองละ 30 ชุด ปิดผนึกด้วยเทปกาวพิเศษจนถึงห้องสอบ (9)หลังสอบ ได้วิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ และทั้งฉบับ ส่งให้กลุ่มครูและผู้เชี่ยวชาญ เพื่อปรับวิธีการออกข้อสอบให้ดีขึ้น และตรงตามที่ต้องการ

  9. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 11. สทศ. ออกข้อสอบอย่างไร จึงเรียกว่ามีคุณภาพ (10)ข้อสอบที่ต้องการ คือ ก.ตรงตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544 ข.เนื้อหาที่ทันสมัย ถูกต้อง ค.ง่าย 20% ยากปานกลาง 60% ยาก 15% และยาก มาก 5% ง.ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2544 จ.ตรงตามมาตรฐานการศึกษา ของหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2544

  10. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 12. สทศ. จัดสอบอย่างไร ถึงเรียกว่าโปร่งใส ได้มาตรฐาน (1) ทำรายชื่อโรงเรียน แยกสังกัด และหลักสูตร (2) ให้โรงเรียนคีย์ชื่อนักเรียนขึ้นเว็บไซต์ (3) ให้ศูนย์สอบตรวจสอบความสมบูรณ์ของชื่อ นักเรียนและชื่อโรงเรียน (4) ให้ศูนย์สอบจัดสนามสอบ ห้องสอบ 4.1 ป.6 และม.3 พยายามให้นักเรียนสอบที่โรงเรียน ของตนเอง 4.2 ม.6 เพิ่มสนามสอบมากขึ้นเป็น 1,500 แห่ง

  11. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 12. สทศ. จัดสอบอย่างไร ถึงเรียกว่าโปร่งใส ได้มาตรฐาน (5) ประกาศเลขที่นั่งสอบ ห้องสอบ สนามสอบ ผ่านเว็บไซต์ (6) นักเรียนพิมพ์เลขที่นั่งสอบ ห้องสอบ สนามสอบ วิชาสอบ เพื่อเป็นหลักฐานการเข้าห้องสอบ (7) ออกระเบียบการเข้าห้องสอบ 7.1 ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 7.2 ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 7.3 ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบ 7.4 ห้ามนำเครื่องมือสื่อสารเข้าห้องสอบ 7.5 ให้นั่งสอบจนหมดเวลา 7.6 ข้อสอบมี 2 ชุด

  12. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 12. สทศ. จัดสอบอย่างไร ถึงเรียกว่าโปร่งใส ได้มาตรฐาน (8) ออกระเบียบ แจกคู่มือ และปฐมนิเทศฯ ผู้คุมสอบให้คุมสอบให้เข้ม (9) สนามสอบ ม.6 นับกระดาษคำตอบส่งให้ศูนย์สอบ ศูนย์สอบนับกระดาษคำตอบก่อนส่ง สทศ. เพื่อตรวจ (พร้อมส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง) (10) สนามสอบ ป.6 ส่งกระดาษคำตอบให้ สทศ. ฝ่ายศูนย์สอบ สทศ. จะนับเอง ถ้าไม่ครบ จะสอบถามเป็นสนามๆ ไป (11) สทศ. นับกระดาษคำตอบด้วยเครื่องนับธนบัตร ตรวจสอบกับบัญชีรายชื่อผู้เข้าสอบ แล้วจึงอ่านด้วยเครื่อง OMR

  13. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 12. สทศ. จัดสอบอย่างไร ถึงเรียกว่าโปร่งใส ได้มาตรฐาน (12) ตรวจทานคะแนนสอบของผู้เข้าสอบ และสุ่มตรวจใหม่ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (13) ประกาศผลผ่านเว็บไซต์ 15 แห่ง คือ 13.1 เว็บไซต์ของ สทศ. 13.2 เว็บไซต์ของพันธมิตร 13.3 ให้โรงเรียนมาดาวน์โหลด เพื่อแจ้งนักเรียน (14) ผู้สมัครยื่นคำร้องขอดูกระดาษคำตอบได้

  14. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 13. สทศ. ตรวจอย่างไร ถึงเรียกว่า เชื่อถือได้ 1) นำกระดาษคำตอบที่ตอบแล้ว มาตรวจสอบ กับรายชื่อ ผู้เข้าสอบ 2) เข้าเครื่อง OMR 3) ถ้าเครื่องดีดออก ตรวจสอบว่ามีปัญหาที่ไหน ถ้าเป็น เรื่องรหัสผู้ตอบกับรหัสวิชาก็แก้ ถ้าเป็นคำตอบ ไม่แก้ 4) สุ่มตรวจด้วยคนเพื่อตรวจสอบผลกับเครื่อง ต้อง ตรงกัน 100% 5) ตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าสอบกับคะแนนและวิชาสอบอีก ครั้งก่อนประกาศผล

  15. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 14. ข้อสอบ O-NETยาก หรือ ง่าย ข้อสอบ O-NET เป็นข้อสอบวัดผลการเรียน(สอบหลังเรียน) มีข้อง่ายมาก 15% ง่ายปานกลาง 60% ยาก 20% และยากมาก 5% สรุปว่าเป็นข้อสอบที่ง่าย นักเรียนควรทำได้อย่างน้อย 60 คะแนน

  16. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15. รายละเอียดเนื้อหาและจำนวนข้อที่ออกสอบ พ.ศ. 2551 15.1 วิชาภาษาไทย

  17. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.2 วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

  18. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.3 วิชาภาษาอังกฤษ

  19. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.4 วิชาคณิตศาสตร์

  20. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.5 วิชาวิทยาศาสตร์

  21. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.6 สอบ 3 กลุ่มสาระ 1) สุขศึกษาและพลศึกษา

  22. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.6 สอบ 3 กลุ่มสาระ 2) วิชาศิลปะ

  23. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 15.6 สอบ 3 กลุ่มสาระ 3) วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี

  24. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 16. ข้อมูลเกี่ยวกับการสอบ พ.ศ. 2551 16.1 ประถมศึกษาปีที่ 6 (ข้อมูลวันที่ 30 ม.ค. 2551) - จำนวนนักเรียน 977,173 คน - จำนวนโรงเรียน 32,114 โรง - จำนวนศูนย์สอบ 180 แห่ง - จำนวนสนามสอบ ประมาณ 16,321 แห่ง - ต้นสังกัด 9 แห่ง

  25. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 16. ข้อมูลเกี่ยวกับการสอบ 16.2 มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ข้อมูลวันที่ 30 ม.ค. 2551) - จำนวนนักเรียนม.6/เทียบเท่า 348,858 คน - จำนวนโรงเรียน 3,300 โรงเรียน - จำนวนศูนย์สอบ 18 แห่ง - จำนวนสนามสอบ ประมาณ 323 แห่ง - ต้นสังกัด 10 แห่ง

  26. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 16. ข้อมูลเกี่ยวกับการสอบ จำนวนนักเรียนม.6/เทียบเท่า 348,858 คน จำแนกตามสังกัดดังนี้ 1) สพฐ. 295,619 คน 2) สกอ. 3,821 คน 3) เอกชน 37,553 คน 4) กศน. 5,338 คน 5) อาชีวศึกษา 1,724 คน 6) อื่น ๆ 4,803 คน

  27. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 19. ความหมายของ O-NET A-NET และ B-NET 19.1 O-NET (Ordinary National Educational Test) คือ การสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น (6 ภาคเรียน) ของชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544 ทั้ง 8 กลุ่มสาระ สอบได้ 1 ครั้ง สำหรับผู้ที่กำลังจะจบชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6

  28. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 19. ความหมายของ O-NET A-NET และ B-NET 19.2 A-NET (Advanced National Educational Test) คือ การสอบความรู้ขั้นสูงของวิชาต่างๆ 11 วิชา เฉพาะนักเรียน ม.6 ที่จะเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐในระบบ Admission ปี 2549 – 2552 จัดสอบเดือนมีนาคมของทุกปี นักเรียนสามารถเก็บคะแนนไว้ได้ 2 ปี และเลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด

  29. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 19. ความหมายของ O-NET A-NET และ B-NET 19.3 B-NET (Basic National Educational Test) คือ การสอบความรู้ขั้นสูงของวิชาต่าง ๆ 5 ภาคเรียน เฉพาะนักเรียน ม.6 ที่จะเข้ามหาวิทยาลัยในระบบรับตรง โควต้า พิเศษ

  30. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 20. ค่าสถิติคะแนน 20.1 O-NET ปีการศึกษา 2550 (29 ก.พ. – 1 มี.ค. 51)

  31. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 21. ค่าสถิติคะแนน 20.2 A-NET ปีการศึกษา 2550 (มีนาคม 2551)

  32. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 20. ค่าสถิติคะแนน 20.3 B-NET (เฉพาะโครงการรับตรง) ปีการศึกษา 2550 (ตุลาคม2550)

  33. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 20. ค่าสถิติคะแนน 20.4 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET 3 ปี

  34. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 21. สทศ. ทำอะไรอีก นอกเหนือจากการสอบ O-NET ป.3, ป.6, ม.3 และ ม.6 สทศ. ทำงานอีกด้าน 21.1 การพัฒนาครูด้วยชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองในเรื่องการวัด-ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน ป.1 – ม.6 พร้อมการทดสอบครูด้วย 21.2 การทดสอบครูในวิชา IT ร่วมกับสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย 21.3 การทดสอบครูในวิชาภาษาไทย ร่วมกับราชบัณฑิตยสถาน 21.4 การทดสอบนักเรียนในเรื่องคุณลักษณะ 21.5 การทดสอบนักเรียนในเรื่องการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์

  35. ช่องทางเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐช่องทางเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐ • การเข้ามหาวิทยาลัยมี 2 ช่องทาง • ระบบรับตรง โควตา พิเศษ มหาวิทยาลัยทำเอง รับ 50% ของที่นั่ง รู้ผล ธันวาคม • ระบบรับกลาง (Admission กลาง) นักเรียนต้องสมัคร เสียค่าสมัคร 4 ลำดับ 250 บาท รู้ผลช่วงปลายเมษายน

  36. Admissions กลาง • คืออะไร • คือการรับคนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ 23 แห่ง • 2. องค์ประกอบ • 2.1 ปี 2549 – 2552 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบ ดังนี้ • GPAX (6 ภาคเรียน) 10% • GPA (3-5 จาก 8 กลุ่มสาระ) 20% • O-NET (4-5 วิชาหลัก) 35-70% • A-NET/วิชาเฉพาะ/วิชาปฏิบัติ 0-35% • (รวมไม่เกิน 3 วิชา) • รวม 100%

  37. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2 ปี 2553 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบ ดังนี้ GPAX 6 ภาคเรียน 20% O-NET (8 กลุ่มสาระ) 30% GAT 1 ฉบับ 10-50% PAT หลายฉบับ 0- 40% รวม 100%

  38. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ GPAX คือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียนทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้ GAT คือ General Aptitude Test ความถนัดทั่วไป PAT คือ Professional Aptitude Test ความถนัดเฉพาะ วิชาชีพ

  39. Admissions กลาง • 2. องค์ประกอบ • 2.2.1 รายละเอียดเกี่ยวกับ GAT • (1) ด้านที่วัด • 1.1 การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ • และการแก้โจทย์ปัญหา(ทางคณิตศาสตร์) 50% • 1.2 การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 50% • (2) ลักษณะข้อสอบ • ข้อสอบปรนัย และอัตนัย คะแนนเต็ม 300 คะแนน ใช้ เวลา สอบ 3 ชั่วโมง • (3) ผู้เข้าสอบ • นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขึ้นไป

  40. Admissions กลาง • 2. องค์ประกอบ • 2.2.1 รายละเอียดเกี่ยวกับ GAT • (4) การจัดสอบ • ปีละ 3 ครั้ง (มกราคม ตุลาคม และธันวาคม) คะแนนมีอายุความ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด • (5) การเน้น - Content Free และ Fair - เน้นความซับซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก

  41. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT (1) PAT มี 7 ชนิดที่เป็นอิสระจากกัน (2) ด้านที่วัดคือ PAT 1 วัดศักยภาพทางคณิตศาสตร์ 1.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Algebra, Probability and Statistics, Conversion, Geometry, Trigonometry, Calculus ฯลฯ 1.2 ศักยภาพ Perceptual Ability, Calculation skills, Quantitative Reasoning, Math Reading Skills

  42. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT PAT 2 วัดศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ 2.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น ชีววิทยา, เคมี, ฟิสิกส์, Earth Sciences, environment, ICT ฯลฯ 2.2 ศักยภาพ Perceptual Ability, Sciences Reading Ability, Science Problem Solving Ability ฯลฯ

  43. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT PAT 3 วัดศักยภาพทางวิศวกรรมศาสตร์ 3.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Engineering Mathematics, Engineering Sciences, Life Sciences, IT ฯลฯ 3.2 ศักยภาพ Engineering Aptitude i.e. Multidimensional Perceptual Ability, Calculation Skills, Engineering Reading Ability, Engineering Problem Solving Ability ฯลฯ

  44. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT PAT 4 วัดศักยภาพทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ 4.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Architectural Math and Science ฯลฯ 4.2 ศักยภาพ Space Relations, Multidimensional Perceptual Ability, Architectural Problem Solving Ability ฯลฯ

  45. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT PAT 5 วัดศักยภาพทางครุศาสตร์/ ศึกษาศาสตร์ 5.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น ความรู้ในเนื้อหาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา สุขศึกษา ศิลปะ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ 5.2 ศักยภาพ ครุศึกษา (Pedagogy), ทักษะการอ่าน (Reading Skills), ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศไทย การแก้ปัญหาที่เกิดจากนักเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียนฯลฯ

  46. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT PAT 6 วัดศักยภาพทางศิลปกรรมศาสตร์ 6.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น - ทฤษฎีศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) - ความรู้ทั่วไปทางศิลป์ ฯลฯ 6.2 ศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ

  47. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT PAT 7 วัดศักยภาพทางภาษาต่างประเทศที่ 2 (ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน บาลี และอาหรับ) 7.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Grammar, Vocabulary, Cultures, Pronunciation, Functions 7.2 ศักยภาพ Paraphrasing, Summarizing, Applying Concepts and principles, Problem Solving Skills, Critical Thinking Skills, Questioning Skills, Analytical Skills

  48. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT (3) ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบปรนัย และอัตนัย คะแนนเต็มของแต่ละ PAT คือ 300 คะแนน ใช้เวลาสอบ PAT ละ 3 ชั่วโมง (4) ผู้เข้าสอบ เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขึ้นไป (5) การจัดสอบ ปีละ 3 ครั้ง (มกราคม ตุลาคม และธันวาคม) คะแนนมีอายุความ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด (6) การเน้น เน้นความซับซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก

  49. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ 2.2.3 บทบาทของ สทศ. ในเรื่อง GAT และ PAT - ประสานงาน เชิญอาจารย์มหาวิทยาลัยมาพิจารณา GAT และ PAT ออกข้อสอบ ปรับปรุง เก็บเข้าคลัง - ประชาสัมพันธ์ รับสมัคร จัดสอบ - ตรวจตามเฉลย กรณีปรนัย - เชิญผู้ออกข้อสอบอัตนัยมาตรวจ - ประกาศผลสอบ

  50. Admissions กลาง 2. องค์ประกอบ สรุปองค์ประกอบ Admissions ปี 2553 รายกลุ่มสาขาวิชา

More Related