1 / 50

ความเป็นมาและวิวัฒนาการ

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ มิถุนายน ๒๕๕๕. ความเป็นมาและวิวัฒนาการ. พระราชบัณฑูร สมเด็จพระบรม โอรสาธิ ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร. โครงการสายใยรักจากแม่สู่ลูก. หลักการ

Download Presentation

ความเป็นมาและวิวัฒนาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารสำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯมิถุนายน ๒๕๕๕

  2. ความเป็นมาและวิวัฒนาการความเป็นมาและวิวัฒนาการ

  3. พระราชบัณฑูร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โครงการสายใยรักจากแม่สู่ลูก • หลักการ • การสร้างความแข็งแกร่งให้สถาบันครอบครัวเป็นพลังสำคัญในการ • สรรสร้างพัฒนาการที่ดี ให้กับเด็กและเยาวชน • ลดปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคมปัจจุบันให้ลดน้อยลงไปด้วย

  4. วัตถุประสงค์ • รณรงค์ให้สังคมไทยเห็นความสำคัญสถาบันครอบครัว และมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กและเยาวชน • เน้นการจัดทำโครงการ/แนวทางปฏิบัติเพื่อเป็นแบบอย่าง • ส่งเสริม/สนับสนุนโครงการต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

  5. มุ่งเน้น • การรณรงค์เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเลี้ยงดูลูก อย่างถูกวิธี • การจัดทำโครงการต่างๆ ที่มีประโยชน์ต่อสังคม • หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางธุรกิจ

  6. คำขวัญพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร

  7. พระปณิธานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ “ปัญหาเด็กและเยาวชนต้องแก้ไขที่สถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นต้นเหตุ โดยการให้ความอบอุ่นแก่เด็กตั้งแต่แม่เริ่มตั้งครรภ์จนคลอด และเด็กได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้อง ซึ่งความอบอุ่นของครอบครัว จะทำให้เด็กอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีสุขภาพจิตที่ดี อันเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะติดตัวเด็กไปในอนาคต” โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โครงการสายใยรักจากแม่สู่ลูก ในพระอุปถัมภ์ฯ

  8. นโยบาย ภารกิจ ๑. กิจกรรมส่งเสริมครอบครัว ๒. กิจกรรมเพื่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ๓. กิจกรรมในพระราชานุเคราะห์ ๑. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสร้างสุขภาพ สุขอนามัยในครัวเรือน ๒. การพัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๓. การเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ๔. สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๕. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน

  9. วิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯวิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ด้วยแนวทางที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระราชทาน และพระปณิธานที่แน่แน่วของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ จุดเริ่มการดำเนินงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯได้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๘แต่ละย่างก้าว มีวิวัฒนาการ กระบวนการเรียนรู้ บูรณาการ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  10. วิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯวิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ช่วงที่ ๑ ก่อปฐมจากนมแม่ แผ่ขยายสายใยรัก (๒๕๔๘-๒๕๕๐) ถ่ายทอดพระปณิธาน ดำเนินการในพื้นที่นำร่อง ๑.พื้นที่ควบคุมในพระองค์ ๙๐๔ กรุงเทพฯ ๒.อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ๓.อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ๔.อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ มุ่งเน้น เสริมสร้างความรัก ความอบอุ่นในครอบครัวยามสุข บรรเทาและบำรุงขวัญราษฎรในยามทุกข์

  11. วิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯวิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ช่วงที่ ๒ สามัคคีภาคีหลัก ปักธงชัยให้ครอบครัว (๒๕๕๑-๒๕๕๒) ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ภาครัฐ เอกชน และประชาชนร่วมพัฒนาภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม ของ ๑๑ องค์กรหลัก ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกโครงการ

  12. ภาคีเครือข่ายโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ : ๑๑ องค์กรหลักร่วมบูรณาการภารกิจ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ขยายผลไปสู่พื้นที่ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

  13. วิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯวิวัฒนาการโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ช่วงที่ ๓ น้อมนำพระปณิธาน ผลิบานตระการทั่วไทย (ตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ เป็นต้นมา) เป็นช่วงต่อยอดการพัฒนา และ ขยายผลโครงการฯ โดยใช้กลไกส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ ศูนย์การเรียนรู้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ใน ๔ ภาค ภาคกลาง จังหวัดราชบุรี ภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา ภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีบทบาท Data-Training-Service Center

  14. “พระราชบัณฑูรสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ”“พระราชบัณฑูรสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ” และ “พระปณิธานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ฯ บันทึกพระราชกระแส สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ เรื่อง “ภาพรวม” “ให้ความสำคัญกับทุกอย่างโดยรอบ ทั้งตัวเราและสภาพแวดล้อมต้องให้ความสำคัญกับอดีต ปัจจุบันและวิเคราะห์ คาดการณ์ข้างหน้า ต้องตระหนักและให้ความสำคัญในการกำหนดจุดหมาย วัตถุประสงค์เป้าหมาย นโยบาย ภารกิจ รวมถึงโครงสร้างการบริหารจัดการและกระบวนการทำงานที่ชัดเจน รูปแบบและแนวทาง การดำเนินงาน โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ทบทวนการทำงานและปัญหาอุปสรรค -การจัดองค์กร -กระบวนการคิด -วิธีการทำงาน

  15. ทบทวนเพื่อการพัฒนา ๑.การจัดองค์กร ขาดความชัดเจนในการรับผิดชอบของหน่วยงานและกลไกการประสานงานในระดับส่วนกลาง ภูมิภาค และพื้นที่ ส่งผลให้การบริหารจัดการ การประสานงาน การติดตามผลขาดการเชื่อมโยงและต่อเนื่องของชุมชนและหน่วยงาน

  16. ทบทวนเพื่อการพัฒนา ๒.กระบวนการคิด มองภาพเป้าหมายกระบวนการพัฒนา ไม่ไปในทิศทางเดียวกัน มุ่งเน้นภารกิจของหน่วยงาน ส่งผลให้ขาดการบูรณาการในการคิดวางแผน ปฏิบัติ ติดตามความก้าวหน้า ๓.วิธีการทำงาน มุ่งเน้นภารกิจของหน่วยงาน ไม่คำนึงถึงวิถีชีวิตชุมชน ขาดการนำข้อมูลพื้นฐานมาดำเนินงาน ขยายงานเร็ว ไม่ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาของสมาชิก

  17. ทบทวนเพื่อการพัฒนา กระบวนการคิด เป้าหมายจาก บุคคล เป็น ชุมชน ผลสำเร็จเป้าหมายแต่ละโครงการต้องชัดเจน การคัดเลือกชุมชนBefore and After แบ่งเป็น ๓ ระดับ ยาก ปานกลาง ไปได้

  18. ทบทวนเพื่อการพัฒนา วิธีการทำงาน -แต่เดิมใช้รูปแบบโครงการต่อเป้าหมายเดียวกันทุกพื้นที่ -ไม่ตรงกับวิถีชีวิตและความต้องการของชุมชน -เกิดช่องว่างในการประสานงานระหว่างเป้าหมายกับหน่วยงานของรัฐ -ขาดเจ้าภาพในการประสานงาน • แยกให้ออกระหว่างงานปกติตามงบประมาณกับงานโครงการฯ • จัดลำดับความเร่งด่วนในการใช้โครงการ • บูรณาการทุกหน่วยงาน หาเจ้าภาพในพื้นที่

  19. แนวทางการดำเนินงานโครงการสายรักแห่งครอบครัวฯแนวทางการดำเนินงานโครงการสายรักแห่งครอบครัวฯ

  20. เป้าหมาย สร้างความแข็งแกร่งให้กับสถาบันครอบครัว ความมุ่งหมาย ๑.รณรงค์ปลูกจิตสำนึกของสังคมไทยให้เห็นความสำคัญของสถาบันครอบครัวและการมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กและครอบครัว ๒.มุ่งเน้นการจัดทำโครงการหรือแนวปฏิบัติเพื่อเป็นแบบอย่างและพัฒนาไปสู่สังคมไทย ๓.ส่งเสริมให้ส่วนราชการและเอกชน สนับสนุนให้มีการดำเนินโครงการต่างๆที่เหมาะสมและให้ประสานโครงการที่มีอยู่ก่อนให้เกิดการดำเนินงานที่มีมาตรฐาน มีแนวทางสอดคล้องและต่อเนื่อง

  21. กลยุทธ์การพัฒนา • ความสุขประชาชน คือ มรรคผลของงาน • ครอบครัวเป็นฐาน หมู่บ้านเป็นหลัก • สายใยรักก่อสาน ผสมงานผสานใจ • ขับเคลื่อนค่อยเป็นไป ด้วยกลไกของข้อมูล • เพิ่มพูนอย่างพอเพียง ร้อยเรียงสู่ยั่งยืน

  22. ความสุขประชาชน คือ มรรคผลของงาน ราษฎรดำเนินชีวิตตามวิถีชุมชนอย่างมีความสุข เป็นครอบครัวพอเพียง ชุมชนเข้มแข็ง ยั่งยืน อย่างค่อยเป็นค่อยไป มีความพึงพอใจและมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความซาบซึ้งและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ

  23. ครอบครัวเป็นฐาน หมู่บ้านเป็นหลัก พื้นที่เป็นตัวตั้ง ชุมชนหมู่บ้านเป็นศูนย์กลาง ครอบครัวและสมาชิกโครงการเป็นเจ้าของ ขับเคลื่อนงานตามความต้องการของครอบครัว ชุมชน ภาคีภาคส่วนและหน่วยงานรัฐ ส่งเสริมสนับสนุน

  24. สายใยรักก่อสาน ผสมงานผสานใจ รวมพลังทุกภาคส่วน มีหน่วยบริหารจัดการในพื้นที่ มีการบูรณาการ แผนพัฒนารายครัวเรือน แผนชุมชน เป็นเครื่องมือ

  25. ขับเคลื่อนค่อยเป็นไป ด้วยกลไกของข้อมูล ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ทำเป็นตัวอย่าง นำร่อง สำเร็จ ขยายผล

  26. เพิ่มพูนอย่างพอเพียง ร้อยเรียงสู่ยั่งยืน ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้าง กระบวนการเรียนรู้และพัฒนา ขีดความสามารถของชุมชน หมู่บ้าน ร่วมจัดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาท้องถิ่นตน อย่างเป็นองค์รวม และนำพาชุมชนก้าวสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

  27. กลไกการดำเนินงาน ๒ ระดับ ส่วนกลาง ส่วนจังหวัด - สำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว กองงานพระวรชายาฯ - กระทรวง ภาคีเครือข่าย ๑๑ หน่วยงาน - ระดับอำนวยการ จังหวัด วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ วางกรอบงาน ภารกิจบูรณาการงาน งบประมาณ การกำกับติดตาม - ระดับปฏิบัติการ อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน กำหนดแผนงาน รายละเอียด กิจกรรม แนวทางการดำเนินงาน ปฏิบัติงานและติดตามผล

  28. ยุทธการ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี สำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว วางแผน/นโยบาย/ตามพระดำริ/กำหนดเป้าหมาย/รวบรวม/ติดตาม *๑๑ องค์กรหลัก วางแผน/นโยบาย/ตามพระดำริ/กำหนดวิธีแก้ไขต่อเป้าหมาย/บรูณาการ/รวบรวม/ติดตาม มุ่งเน้นการสร้าง ชุมชน โดย ชุมชนการพัฒนาที่ยั่งยืน *หน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ กำหนดวิธีแก้ไขต่อเป้าหมาย/แผนชุมชน บูรณาการ/รวบรวม/ติดตาม

  29. แต่งตั้งคณะกรรมการจังหวัด สนับสนุนความรู้ สื่อวิชาการ วิทยากร สนับสนุนงบประมาณตามแผนชุมชนติดตามผลการดำเนินโครงการยกย่อง เชิดชู บุคคล หมู่บ้าน ตำบล ต้นแบบขยายผลความสำเร็จสู่พื้นที่อื่นๆรายงานผลต่อสำนักงานสายใยรัก ปีละ ๒ ครั้ง ยุทธศาสตร์ ระดับจังหวัด ยุทธศาสตร์ ระดับจังหวัด เจ้าภาพร่วม มุ่งเน้นการสร้าง ชุมชน โดย ชุมชน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

  30. ยุทธการ ระดับอำเภอ ยุทธการ ระดับอำเภอ เจ้าภาพรอง แต่งตั้งคณะกรรมการอำเภอและตำบล,หมู่บ้านมีส่วนร่วมประชาคม ทำแผนชุมชน ติดตามงานสนับสนุนความรู้ สื่อวิชาการ วิทยากรสนับสนุนงบประมาณตามแผนชุมชนวิเคราะห์ผลการดำเนินการ สิ่งที่จะปรับปรุง และการพัฒนาต่อรายงานผลต่อคณะกรรมการจังหวัดรายไตรมาส มุ่งเน้นการสร้าง ชุมชน โดย ชุมชน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

  31. ยุทธวิธี ระดับตำบล ยุทธวิธี ระดับตำบล เจ้าภาพหลัก ประชาคม เพื่อได้สิ่งที่ต้องการพัฒนาในพื้นที่จัดทำแผนชุมชนให้ตรงตามความต้องการปฏิบัติงานตามแผนชุมชน ในรูปแบบบูรณาการงาน คน งบประมาณติดตามผล และรายงานต่อกรรมการอำเภอ ๒ เดือนต่อครั้ง มุ่งเน้นการสร้าง ชุมชน โดย ชุมชน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

  32. ขั้นตอนการทำงาน • ปรับวิธีคิด ทัศนคติ และพฤติกรรม เสริมสร้างการทำงานร่วมกัน และศักยภาพในการขับเคลื่อนงาน • ขั้นที่ ๑ เตรียมการ • เตรียมคน : เตรียมข้าราชการ เตรียมประชาชน เตรียมภาคีเครือข่าย • เตรียมพื้นที่ : ประเมินปรับปรุงพื้นที่เดิม คัดเลือกพื้นที่ใหม่จากข้อมูลพื้นฐาน • ทุนทางสังคม ความพร้อมของประชาชน ชุมชน และเครือข่าย • ขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างเป็นระบบ • มีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ และเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน • ขั้นที่ ๒ ดำเนินการ ๕ รู้ • รู้ชุมชน: ประวัติ พัฒนาการ ศักยภาพ • รู้ปัญหา: อย่างรอบด้าน ด้วยการมีส่วนร่วม และการสำรวจ จัดสถานะเพื่อการพัฒนา • รู้วิธีการ: กำหนดแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ด้วยแนวคิดเบญจวิถีการพัฒนา • รู้งาน: ทุกภาคส่วนทำตามแผน บูรณาการการจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวม • รู้ติดตาม: ติดตามผลจากทุกภาคส่วน ร่วมหารือเพื่อแก้ไข พัฒนาและประเมินสถานะเพื่อ • เปรียบเทียบ จากนั้นสรุปบทเรียนและประเมินสัมฤทธิผล

  33. เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขอนามัยในครัวเรือน พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง แผนภูมิกระบวนการดำเนินงาน สรรสร้างการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต • กลยุทธ์การพัฒนา • ความสุขประชาชน คือ มรรคผลของงาน • ครอบครัวเป็นฐาน หมู่บ้านเป็นหลัก • สายใยรักก่อสาน ผสมงานผสานใจ • บูรณาการค่อยเป็นไป ด้วยกลไกของข้อมูล • เพิ่มพูนอย่างพอเพียง ร้อยเรียงเพื่อพึ่งตน • กลไกการทำงาน • คณะกรรมการอำนวยการ • คณะที่ปรึกษา CAT • คณะกรรมการดำเนินงาน • คณะกรรมการระดับพื้นที่ • ภาคีเครือข่ายการพัฒนา • ทุนทางสังคม ทรัพยากร • ระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการพัฒนา แนวทางการดำเนินงาน ๑. เตรียมการ: เตรียมคน เตรียมพื้นที่ ๒. ดำเนินการ ๕ รู้ : รู้ชุมชน รู้ปัญหา รู้วิธีการ รู้งาน และรู้ติดตาม

  34. การดำเนินโครงการ • ขั้นเตรียมการ • การประชาคม ค้นหาความต้องการ • เตรียมคน ( ประชาชน เจ้าหน้าที่ เครือข่าย) • เตรียมพื้นที่ (ข้อมูลพื้นฐาน) • ขั้นดำเนินการ • แผนชุมชน ตามความเร่งด่วน และความต้องการ (ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว) • ประเมินผลเป็นระยะ ต่อเนื่อง

  35. ภาคีเครือข่ายร่วมบูรณาการภารกิจภาคีเครือข่ายร่วมบูรณาการภารกิจ โครงการ กระทรวง/หน่วยงาน จังหวัด ประจำปี งบประมาณ • แผนชุมชน • *กิจกรรม • เป้าหมายชัดเจน • ตัวชี้วัดความสำเร็จ ประชาชน/ ชุมชน เข้มแข็ง • เป็นระยะ • *ประเมินผล บูรณาการโดยคำนึงถึง ภาพรวม (เป้าหมาย ความมุ่งหมาย นโยบาย ภารกิจ)

  36. สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ตระหนัก และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมายชัดเจน กิจกรรมง่ายต่อการปฏิบัติ แต่ละชุมชนแตกต่างกันตามประเพณี วัฒนธรรม ทุนทางสังคม เบญจวิถีการพัฒนา ๑.เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสุขอนามัยในครัวเรือน

  37. ๒.๑ อาชีพหลัก ตามวิถีชุมชน โดยการลดต้นทุน เพิ่มรายได้ เกิดเงินออม เรียนรู้องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านปราชญ์ชุมชน๒.๒ อาชีพเสริม ทำเวลาว่างจากการประกอบอาชีพหลัก มุ่งเน้นการรวมกลุ่มสมาชิก สร้างอาชีพตามความต้องการชุมชน การต่อยอดจากสิ่งเดิม ๒.พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง แบ่งเป็น ๒ ระบบ

  38. สมาชิกในครอบครัว ชุมชน มีกิจกรรมร่วมกัน ผ่านวัฒนธรรม ประเพณี วันสำคัญ ๓. เสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น

  39. ๔. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การถ่ายทอดความรู้ จากผู้มีประสบการณ์ ผู้สำเร็จ ผ่านการใช้ชีวิตประจำวัน

  40. การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการลดการสร้างใหม่ การนำกลับไปใช้ เช่น ธนาคารขยะ มีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ การจำหน่าย รวมถึง การปลูกไม้ผล ไม้ดอก พืชผักสวนครัว เพื่อบริโภคภายในครัวเรือน ๕.สรรสร้างการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี

  41. การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล เพื่อให้ทราบผลการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยติดตามจากข้อมูลแผนชุมชน จปฐ.กชช๒ค. มีขั้นตอน ๑.คณะกรรมการพื้นที่ติดตามตามแนวทาง ๕ ด้าน ทุก ๒ เดือน ๒. ส่งผลแก่คณะกรรมการอำเภอ จังหวัด ๓.คณะกรรมการจังหวัดรวบรวม วิเคราะห์ เสนอแนะแนวทางพัฒนาส่งกองงานพระวรชายาฯ ทุก ๖ เดือน ๔. สำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว กองงานพระวรชายาฯ เสนอต่อประธานคณะกรรมการอำนวยการ (VVIP) ปีละ ๑ ครั้ง

  42. พื้นที่เสด็จทรงเยี่ยมและติดตามการดำเนินงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯพื้นที่เสด็จทรงเยี่ยมและติดตามการดำเนินงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ตั้งแต่ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๕ เสด็จทรงเยี่ยมพื้นที่ดำเนินงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ แล้วจำนวน ๔๓ จังหวัด ดังนี้

  43. ภาคเหนือ ๙ จังหวัด (จาก ๑๗ จังหวัด) ได้แก่ จ.เชียงใหม่จ.อุตรดิตถ์จ.ลำพูน จ.อุทัยธานีจ.กำแพงเพชร จ.เชียงรายจ.น่าน จ.พิษณุโลกจ.นครสวรรค์ • พื้นที่ต้นแบบโครงการฯ ภาคเหนือ • อยู่ที่ บ้านหนองเต่า ต.ม่วงตึ๊ด อ.ภูเพียง จ.น่าน • เจ้าภาพหลักติดตามการดำเนินงาน คือ กระทรวงสาธารณสุข

  44. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๓ จังหวัด (จาก ๒๐ จังหวัด) ได้แก่ จ.นครราชสีมา จ.อุบลราชธานี จ.มหาสารคาม จ.อุดรธานี จ.หนองคาย จ.ศรีสะเกษ จ.ขอนแก่น จ.มุกดาหาร จ.สกลนคร จ.กาฬสินธุ์ จ.บุรีรัมย์ จ.ชัยภูมิ จ.หนองบัวลำภู • พื้นที่ต้นแบบโครงการฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ที่ บ้านนาดี-สร้างบง ต.ผาสุก อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี • เจ้าภาพหลักติดตามการดำเนินงาน คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

  45. ภาคกลาง ๑๓ จังหวัด (จาก ๒๖ จังหวัด) ได้แก่ กรุงเทพฯจ.สิงห์บุรีจ.ชัยนาทจ.ปทุมธานีจ.อ่างทองจ.สุพรรณบุรีจ.สมุทรสาครจ.นครนายกจ.ตราดจ.ระยองจ.ฉะเชิงเทราจ.ลพบุรี จ.พระนครศรีอยุธยา • พื้นที่ต้นแบบโครงการฯ ภาคกลาง อยู่ที่ ต.ศรีจุฬา อ.เมือง จ.นครนายก • เจ้าภาพหลักติดตามการดำเนินงาน คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  46. ภาคใต้ ๘ จังหวัด (จาก ๑๔ จังหวัด) ได้แก่ จ.นครศรีธรรมราช จ.ยะลา จ.ระนอง จ.ตรัง จ.สุราษฎร์ธานี จ.กระบี่ จ.สงขลา จ.พังงา • พื้นที่ต้นแบบโครงการฯ ภาคใต้ อยู่ที่ ต.บ้านนา อ.กะเปอร์ จ.ระนอง • เจ้าภาพหลักติดตามการดำเนินงาน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  47. แผนงานโครงการอันเนื่องมาจากพระดำริและงานกิจการพิเศษภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯแผนงานโครงการอันเนื่องมาจากพระดำริและงานกิจการพิเศษภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ๑.โครงการศูนย์การเรียนรู้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ ๔ ภาค (กษ. พม. สธ. มท.) ๒. โครงการศูนย์ ๓ วัย สานสายใยรักแห่งครอบครัวฯ (พม.) ๓.โครงการตำบลนมแม่ เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว (สธ.) ๔. โครงการรณรงค์ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop teen mom /กองทุนเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น) ๕.โครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกฯ (ศิริราช)

  48. ๖. โรงเรียนทีปังกรรัศมีโชติ ในพระราชูปถัมภ์ฯ ๕ แห่ง (วัดโบสถ์ ทวีวัฒนา ปทุมธานี วัดน้อยใน วัดประดู่) (ศธ.) ๗.โครงการศูนย์เรียนรู้การเกษตรบ้านสวนอำแพง จ.สมุทรสาคร ๘. ศูนย์ศรีทวีรัก ๙. ศูนย์พัฒนาเด็กทีปังกรรัศมีโชติ ๑๐. มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย ๑๑.โครงการสุขอนามัย ๙๐๔ ๑๒. คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชูปถัมภ์ฯ ๑๓. ปราชญ์ชาวบ้าน ๑๔. ครัวพระราชทานเพื่อผู้ประสบภัย ๑๕. โครงการสายใยรักฯ เพื่อผู้ประสบภัย

  49. ภาพหวังในอนาคต • - คนไทย สังคมไทย • มีจิตสำนึกและให้ความสำคัญกับสถาบันครอบครัว และมีส่วนร่วมในกระบวนการดูแลและพัฒนาเด็ก เยาวชน ภายใต้สภาพแวดล้อมและศักยภาพครอบครัว ชุมชน และสังคมที่เหมาะสม • - ประชาชน ครอบครัว ชุมชน • มีกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างมีมาตรฐาน ต่อเนื่อง จากการบูรณาการการทำงานของทุกภาคส่วน

  50. จบการนำเสนอ สำนักงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ พื้นที่โครงการในพระองค์ ๙๐๔ ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร.๐-๒๒๔๑-๙๘๔๖ ต่อ ๒๐๙,๒๑๒(โทรสาร ต่อ ๒๑๗) E-mail:saiyairak-b1@hotmail.com

More Related