1 / 34

โครงสร้างวัสดุ

บทที่ 4. โครงสร้างวัสดุ. โครงสร้างอะตอมและการสร้างพันธะของอะตอมในของแข็ง. อะตอม : ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เล็กลงไป เรียกว่า โปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน. www.geocities.com/phaitoon2501/lesson1/l12.html. แบบจำลอง :

zinnia
Download Presentation

โครงสร้างวัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 โครงสร้างวัสดุ

  2. โครงสร้างอะตอมและการสร้างพันธะของอะตอมในของแข็งโครงสร้างอะตอมและการสร้างพันธะของอะตอมในของแข็ง อะตอม : ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เล็กลงไป เรียกว่า โปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน www.geocities.com/phaitoon2501/lesson1/l12.html

  3. แบบจำลอง : จอห์น ดาลตัน "อะตอมมีขนาดเล็กมาก เป็นทรงกลมตัน แบ่งแยก สร้างขึ้นใหม่หรือทำให้สูญหายไม่ได้” www.geocities.com/class2u_areerut/elemant.html

  4. แบบจำลอง : เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน "อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกและอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบจำนวนเท่ากันกระจายทั่วไปอย่างสม่ำเสมอ”

  5. แบบจำลอง : ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด "อะตอมประกอบด้วยประจุบวก คือโปรตอนอยู่ตรงกลาง มีขนาดเล็กมาก โดยมีประจุลบคือ อิเล็กตรอนวิ่งรอบๆ”

  6. แบบจำลอง : นีลล์ โบร์ "อะตอมเป็นทรงกลมประกอบด้วยโปรตอน และนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นวงกลมเป็นชั้นๆตามระดับพลังงาน”

  7. แบบจำลอง : “อะตอมหนึ่งๆ ประกอบด้วย นิวเคลียส ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 10-14 mล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกจางของอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่โดยรอบทำให้รัศมีอะตอมมีขนาดอยู่ในช่วง 10-10 m”

  8. http://www.thaigoodview.com/files/u6974/atom_0.jpg 27/6/11 http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem6/snap9.jpg

  9. มวล : นิวเคลียส = โปรตอน + นิวตรอน = มวลหลักทั้งหมดของอะตอม โปรตอน มีมวล = 1.67310-24 g ประจุ = + 1.602  10-19 C นิวตรอน มีมวล = 1.67510-24 g อิเล็กตรอน มีมวล = 9.10910-28 g (1/1836 เท่าของโปรตอน) ประจุ = - 1.602  10-19 C

  10. กลุ่มประจุอิเล็กตรอนเป็นส่วนที่มีปริมาตรมากเกือบทั้งหมดของอะตอม แต่มีมวลเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมด ที่สำคัญ คือ “ที่โคจรวงนอกสุด” เพราะเป็นตัวกำหนด สมบัติทางไฟฟ้า เชิงกล เคมีและความร้อนของอะตอม ดังนั้น โครงสร้างอะตอมซึ่งเป็นความรู้พื้นฐาน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยให้เข้าใจสมบัติต่างๆ ของวัสดุมากขึ้น

  11. เลขอะตอม (Atomic  number)  • ใช้สัญลักษณ์  Z    หมายถึง  ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนที่มีอยู่ในนิวเคลียสของธาตุ  อะตอมของธาตุชนิดหนึ่ง ๆ  จะมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับธาตุอื่น ๆ  ธาตุชนิดเดียวกันจะต้องมีจำนวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน • อะตอมที่เป็นกลางจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับจำนวนโปรตอน • อะตอมไม่เป็นกลางจำนวนอิเล็กตรอนจะไม่เท่ากับโปรตอน เช่น  ไอออนบวก จะมีโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน • ไอออนลบ  จะมีโปรตอนน้อยกว่าอิเล็กตรอน

  12. มวลอะตอม (Atomic  mass)  ใช้สัญลักษณ์เป็น  A    หมายถึงผลรวมของจำนวนโปรตอน  และจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียส  เลขมวลไม่ใช่  มวลอะตอม  เลขมวลจะต้องเป็นจำนวนเต็มเสมอ  แต่มวลอะตอมอาจจะเป็นเลขจำนวนเต็มหรือไม่ก็ได้ เป็นค่าเชิงเปรียบเทียบของแต่ละธาตุที่มีหน่วยเป็นกรัมของเลขอะโวกาโด NA = 6.0231023 atom http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/bangkok/sathit_cu/atomic_structure/Learn/isotope.htm

  13. ตัวอย่าง 1 gmolหรือ 1 mol ของธาตุหนึ่งๆ มีค่าเท่ากับมวลในหน่วย g มวลอะตอมของธาตุนั้นๆ เช่น 1 g mol ของ Al มีมวล = 26.98 gและมีจำนวนอะตอมเท่ากับ 6.0231023 atom การบ้าน : จงหาจำนวนอะตอมใน 100 กรัมของทอง

  14. โครงสร้างอิเล็กทรอนิกส์และการทำปฏิกิริยาทางเคมีโครงสร้างอิเล็กทรอนิกส์และการทำปฏิกิริยาทางเคมี • ก๊าซเฉื่อย (Noble gas) • สมบัติทางเคมี ขึ้นกับ ความสามารถในการทำปฏิกิริยาของอิเล็กตรอนวงนอกสุด • ในบรรดาธาตุต่างๆ ก๊าซเฉื่อยมีเสถียรภาพสูงที่สุด • ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นๆ น้อยที่สุด • Ne, Ar, Kr, Xe, Rn • ปัจจุบันพบก๊าซเฉื่อยบางชนิด เช่น Kr และ Xe สามารถทำปฏิกิริยากับ F และ O ได้ เช่น  KrF2 , XeF2 ,XeF4 , XeF6 , XeO3 , XeO4 • ก๊าซเฉื่อยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็น " วันเดอร์วาลส์ " จึงทำให้มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ

  15. 2.1 ธาตุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก (Electropositive Element) • มักเป็นโลหะ เมื่อสูญเสียอิเล็กตรอน (cation) • จำนวนอิเล็กตรอนที่สูญเสีย แสดงเป็นเลข oxidationที่มีเครื่องหมายเป็น + • กลุ่ม 1A, 2A

  16. 2.2 ธาตุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ (Electronegative Element) • มักเป็นอโลหะ เมื่อรับอิเล็กตรอน (anion) • จำนวนอิเล็กตรอนที่สูญเสีย แสดงเป็นเลข oxidationที่มีเครื่องหมายเป็น - • กลุ่ม 6A, 7A • ธาตุในกลุ่ม 4A ถึง 7A เป็นได้ทั้ง +,- (C, Si, Ge, As,Sn, P)

  17. ชนิดของพันธะอะตอมและพันธะโมเลกุลชนิดของพันธะอะตอมและพันธะโมเลกุล • Primary atomic bonding • Ionic bond • Covalent bond • Metallic bond • Secondary atomic bonding • Van de Walls • Hydrogen • 3. Mixed

  18. Ionic bond • เป็นแรงดึงดูดระหว่างอิออน • เกิดระหว่างธาตุที่มีประจุไฟฟ้าบวก (โลหะ)กับธาตุที่มีประจุไฟฟ้าลบ (อโลหะ) • แรงยึดเหนี่ยวเป็นแรงคูลอมบ์ (แรงดึงดูดระหว่างอิออนที่มีประจุบวก, ลบ • เป็นพันธะที่แข็งแรงและเป็นพันธะที่ไม่มีทิศทาง • ตย. NaCl, CsCl

  19. http://wwwchem.csustan.edu/chem3070/images/nacl.gif

  20. www.thaigoodview.com/.../56/3P/Ionic1.htm

  21. Covalent bond • เป็นแรงดึงดูดที่แข็งแรงระหว่างอะตอม เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน ทำให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวขึ้น จึงเป็นพันธะที่เกิดในบางส่วนและมีทิศทางที่แน่นอน • ตย. H2 : ยึดกันด้วยพันธะโควาเลนต์แบบง่ายที่สุด • พบในโมเลกุลของธาตุอโลหะ : H2 Cl2 F2 • พบในโมเลกุลของสารประกอบ : H2O HNO3 HF • เป็นพันธะที่แข็งแรงและเป็นพันธะที่ไม่มีทิศทาง • ตย. Carbon (เพชร) Silicon Germanium GaAs InSb • SiC

  22. http://www.green-planet-solar-energy.com/images/polar-covalent-bond.gifhttp://www.green-planet-solar-energy.com/images/polar-covalent-bond.gif

  23. Metallic bond • เป็นแรงดึงดูดที่แข็งแรงระหว่างอะตอม เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน โดยหลุดจากตำแหน่งเดิม ทำให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่แข็งแรงอย่างไม่มีทิศทางของพันธะระหว่างโมเลกุล • พบในธาตุโลหะและโลหะผสม • อะตอมโลหะจะมี valence e (ไม่เกิน 3) ไม่อยู่กับที่ แต่จะเคลื่อนที่อย่างอิสระไปทั่วชิ้นวัสดุโลหะ • พบในธาตุหมู่ IA, IIA

  24. info.lu.farmingdale.edu/.../atomicbonds.html

  25. Secondary bond : Van de Waals • มีความแข็งแรงต่ำ มีค่าพลังงานอยู่ในช่วง 10 kJ/mol (0.1 eV/atom) • เกิดขึ้นระหว่งทุกอะตอมหรือโมเลกุล แต่ไม่เด่นชัด • เด่นชัดในก๊าซเฉื่อย และในโมเลกุลที่มีเป็นแบบโควาเลนต์ • เกิดจากไดโพลของอะตอม/โมเลกุล

  26. info.lu.farmingdale.edu/.../atomicbonds.html

  27. Secondary bond : Hydrogen bond • พบในโมเลกุลที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโควาเลนต์โดยมีไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เช่น H2O • มีประจุบวกอยู่รอบๆ อะตอมไฮโดรเจน และประจุลบอยู่รอบๆ อะตอมออกซิเจน • เมื่อมีโมเลกุลลักษณะเดียวกันมาอยู่ใกล้ๆ จะเกิดแรงยึดเหนี่ยวแบบอ่อนๆ ขึ้นระหว่างประจุลบและบวก

  28. info.lu.farmingdale.edu/.../atomicbonds.html

  29. Binding Energy The atoms arrange themselves within a bonding regime such that they are at a minimum energy level.   This is when there is a balance between the attractive and the repulsive forces.  The spacing at this low energy level equilibrium distance is called the “Interatomic spacing”.

  30. พลังงานยึดเหนี่ยวพลังงานที่ใช้ในการยึดกันเป็นนิวเคลียสของนิวคลีออนต่าง ๆ ค่าพลังงานยึดเหนี่ยว คำนวณได้จาก E = mc2ของไอน์สไตน์     ในทางกลับกัน ค่าพลังงานยึดเหนี่ยวก็เท่ากับพลังงานที่ใช้ไปในการทำให้นิวคลีออนแยกออกจากกัน (อภิธานศัพท์ฟิสิกส์) พลังงานยึดเหนี่ยว หมายถึงพลังงานที่ต้องใช้ในการแยกอะตอมสองตัวออกจากกัน หรือแยกอะตอมเป็นนิวคลีไอและอิเล็กตรอน เทียบเท่ากับการลดพลังงานอิสระ(free energy)ของระบบ

  31. www.roymech.co.uk/.../Matter/basics.html

More Related