1 / 238

คดีปกครองเกี่ยวกับการเงิน พัสดุ และการงบประมาณ

คดีปกครองเกี่ยวกับการเงิน พัสดุ และการงบประมาณ. นายตรีภพ คริสต์รักษา ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่. ศาลปกครองเชียงใหม่. ศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง. ก.ก.ต. สำนักงาน ก.ก.ต. ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ช. ค.ต.ง. สำนักงาน ค.ต.ง. ฯลฯ. การจัดองค์กรของรัฐ. นิติบัญญัติ. บริหาร. ตุลาการ.

Download Presentation

คดีปกครองเกี่ยวกับการเงิน พัสดุ และการงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คดีปกครองเกี่ยวกับการเงิน พัสดุ และการงบประมาณ นายตรีภพ คริสต์รักษา ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่

  2. ศาลปกครองเชียงใหม่

  3. ศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง

  4. ก.ก.ต. สำนักงาน ก.ก.ต. ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ช. ค.ต.ง. สำนักงาน ค.ต.ง. ฯลฯ การจัดองค์กรของรัฐ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ คณะรัฐมนตรี องค์กรอิสระตาม รธน. ศาลรัฐธรรมนูญ รัฐบาล ฝ่ายปกครอง ศาลยุติธรรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ศาลปกครอง หน่วยงาน ของรัฐอื่น ศาลทหาร

  5. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลทหาร ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม (และศาลฎีกาแผนกดดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง) รัฐธรรมนูญ (ม.199) คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ศาลตามรัฐธรรมนูญ

  6. ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลล้มละลาย ศาลชำนัญพิเศษอื่นๆ 5 6 1 ศาลแรงงาน 2 ศาลภาษีอากร 3 ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ 4 ศาลชำนัญพิเศษ

  7. คณะกรรมการการเลือกตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้ง 1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 4 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญปี 50 หมวด 11) ก) องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

  8. รัฐธรรมนูญ 2550 ม. 223 วรรคหนึ่ง • ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน หรือระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน อันเนื่องมาจากการใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดำเนินกิจการทางปกครอง...ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ...

  9. ความหมายของศาลปกครอง ศาลปกครองเป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง

  10. คดีที่ขึ้นศาลปกครอง 1. คดีพิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ด้วยกันหรือกับเอกชน 2. คดีพิพาทจากการใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมายหรือการดำเนินกิจการทางปกครอง 3. เป็นคดีที่กำหนดไว้ในมาตรา 9

  11. ศัพท์ที่ใช้ต่างจากคดีแพ่งศัพท์ที่ใช้ต่างจากคดีแพ่ง 1. ผู้ฟ้องคดีไม่ใช่ โจทก์ 2.ผู้ถูกฟ้องคดีไม่ใช่ จำเลย 3. คู่กรณีไม่ใช่ คู่ความ

  12. ความเป็นมา • การทำงานของหน่วยงานมีปัญหามาก • นำหลักความโปร่งใส ตรวจสอบได้ มาใช้ • แนวคิดปฏิรูประบบราชการ โดยใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือ • นำไปสู่การตรากฎหมายปกครองที่สำคัญ 1. พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ 2. พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ 3. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ 4. พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

  13. เหตุใดจึงต้องมีศาลปกครองเหตุใดจึงต้องมีศาลปกครอง ข้อพิพาทระหว่างประชาชนกับทางราชการ เป็นข้อพิพาททางปกครอง คดีปกครองมีลักษณะพิเศษจึงต้องใช้ “ระบบไต่สวน” ศาลที่มีความเป็นกลาง และเชี่ยวชาญในหลักกฎหมายปกครอง และการบริหารราชการแผ่นดิน สร้างความสมดุลระหว่างประโยชน์สาธารณะ กับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน

  14. เหตุผลในการตรากฎหมาย - รัฐธรรมนูญบัญญัติให้จัดตั้ง “ศาลปกครอง” พิจารณาคดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างเอกชนกับหน่วยงาน / จนท. ของรัฐ หรือหน่วยงาน / จนท. ของรัฐ ด้วยกันเอง เกี่ยวกับการกระทำ / การละเว้นการกระทำ อำนาจหน้าที่อันเป็นเรื่องของกฎหมายมหาชน - ระบบพิจารณาคดีจำเป็นต้องมีกระบวนการเป็นพิเศษต่างจากคดีทั่วไป คำพิพากษามีผลกระทบต่อการบริหารราชการแผ่นดินหรือต้องจ่ายเงินภาษีอากร เอกชนอยู่ในฐานะที่เสียเปรียบ ไม่ทราบข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐ - การพิจารณาจำเป็นต้องใช้ “ระบบไต่สวน” เพื่อหาข้อเท็จจริงที่แท้จริง - ตุลาการมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ตรวจสอบได้ / หน่วยงานธุรการ ที่เป็นอิสระ

  15. ความเป็นมาของศาลปกครองความเป็นมาของศาลปกครอง - 2417 รัชกาลที่ 5 ทรงจัดตั้งเคาน์ซิลออฟสเตด - 2476 คณะกรรมการกฤษฎีกา - 2492 คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ - 2517 รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มีการจัดตั้งศาลปกครอง - 2522 คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะกรรมการร่างกฎหมาย คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย - 2540 รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มีการจัดตั้งศาลปกครอง - 2542 กฎหมายจัดตั้งศาลปกครอง - 2544 ศาลปกครองเปิดทำการครั้งแรก

  16. โครงสร้างของศาลปกครองโครงสร้างของศาลปกครอง

  17. ศาลปกครองในภูมิภาค 1. ศาลปกครองเชียงใหม่ (8 จังหวัดภาคเหนือ) 2. ศาลปกครองสงขลา (7 จังหวัดภาคใต้) 3. ศาลปกครองนครราชสีมา (4 จังหวัดภาคอีสาน) 4. ศาลปกครองขอนแก่น (4 จังหวัดภาคอีสาน) 5. ศาลปกครองพิษณุโลก (8 จังหวัดภาคเหนือ) 6. ศาลปกครองระยอง (7 จังหวัดภาคตะวันออก) 7. ศาลปกครองนครศรีธรรมราช (7 จังหวัดภาคใต้) 8. ศาลปกครองอุดรธานี (6 จังหวัดภาคอีสาน) 9. ศาลปกครองอุบลราชธานี (5 จังหวัดภาคอีสาน) 10. ศาลปกครองภูเก็ต (4 จังหวัดภาคใต้ กระบี่ พังงา ภูเก็ต ระนอง) 11. ศาลปกครองเพชรบุรี (4 จังหวัดภาคกลาง ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม) 12. ศาลปกครองนครสวรรค์ (4 จังหวัดภาคกลาง ชัยนาท นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ อุทัยธานี)

  18. เขตอำนาจศาลปกครองเชียงใหม่เขตอำนาจศาลปกครองเชียงใหม่ • จังหวัดเชียงราย • จังหวัดเชียงใหม่ • จังหวัดแม่ฮ่องสอน • จังหวัดลำปาง • จังหวัดลำพูน • จังหวัดน่าน • จังหวัดพะเยา • จังหวัดแพร่

  19. ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณา “คดีปกครอง” • คู่กรณี (เป็นคดีพิพาทระหว่าง) • หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐ กับเอกชน • หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ด้วยกันเอง • ลักษณะคดีพิพาท (พิพาทในเรื่อง) • หน่วยงานฯ/จนท.ของรัฐ กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย จากการออกกฎ คำสั่ง หรือการกระทำอื่น • หน่วยงานฯ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ละเลยต่อหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า เกินสมควร • ละเมิดของเจ้าหน้าที่ และความรับผิดอย่างอื่น • สัญญาทางปกครอง • กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานฯ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ฟ้องคดีต่อศาล ปกครอง • กฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง

  20. ส่วนกลาง ใช้อำนาจ องค์การมหาชน พ.ร.บ. พ.ร.ฎ องค์กรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ ดำเนินกิจกรรม ส่วนภูมิภาค ทางปกครอง ส่วนท้องถิ่น

  21. หน่วยงานทางปกครอง 1. กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการ ส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น 2. รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา 3. หน่วยงานอื่นของรัฐ 4. หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือให้ดำเนินกิจการทางปกครอง

  22. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งโดย พ.ร.บ. 1. พ.ร.บ.การรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 2. พ.ร.บ.การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501 3. พ.ร.บ.การประปาส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2522 4. พ.ร.บ. การเคหะแห่งชาติ พ.ศ. 2537

  23. 1. องค์การเลี้ยงไก่ 2. องค์การสวนสัตว์ 3. องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ 4. องค์การคลังสินค้า องค์การของรัฐบาลที่จัดตั้งโดย พ.ร.ฎ.

  24. หน่วยงานของรัฐที่เป็นองค์การมหาชน 1. โรงพยาบาลบ้านแพ้ว 3. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง แห่งชาติ 2. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา 4. สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ

  25. พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 • ให้กองทุนเป็นนิติบุคคล (ม.5) • กองทุนไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ และรายได้ของกองทุนไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (ม.11)

  26. หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินกิจการทางปกครองหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินกิจการทางปกครอง สภาทนายความ, แพทยสภา, สภาวิศวกร บริษัทไปรษณีย์ไทย มหาวิทยาลัยเอกชน บริษัท TOT

  27. เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง 2. คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการ หรือบุคคลที่กฎหมาย ให้อำนาจในการออกกฎ คำสั่ง หรือมติ ที่มีผลต่อบุคคล 3. บุคคลในบังคับบัญชาหรือในกำกับดูแล ของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่

  28. เจ้าหน้าที่ของรัฐ • ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล หรือผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง • คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งกฎหมายให้อำนาจออกกฎ คำสั่ง หรือมติที่มีผลกระทบต่อบุคคล • ผู้ที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในกำกับดูแลของหน่วยงานทางปกครอง/ เจ้าหน้าที่ของรัฐ

  29. รมต.,อธิบดี, ปลัดกระทรวง นายกเทศมนตรี, นายก อบจ. นายก อบต. นายอำเภอ, ผู้ว่าราชการจังหวัด เจ้าหน้าที่ของรัฐ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี

  30. คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 161/2546 (ป.) • การใช้อำนาจของสภา อบต.และคณะกรรมการบริหาร อบต. เป็นส่วนหนึ่งของการใช้อำนาจทางบริหาร โดยมีนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ใช้อำนาจกำกับดูแล • ศาลปกครองจึงมีอำนาจตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำของ อบต. ได้ ไม่ว่าในเรื่องความชอบด้วยกฎหมายของข้อบัญญัติท้องถิ่น การใช้อำนาจหน้าที่ หรือการกระทำในความสัมพันธ์ระหว่างสภา อบต.กับคณะกรรมการบริหาร

  31. 1. การออกกฎ คำสั่ง หรือการกระทำ ฝ่ายเดียว โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย • 6. คดีอื่นที่กฎหมายกำหนด • 2. ละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า คดีปกครอง (มาตรา 9) • 3. ละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่น • 4. สัญญาทางปกครอง • 5. คดีที่กฎหมายบังคับให้ฟ้องศาลเพื่อบังคับบุคคลให้กระทำ

  32. ตัวอย่างของคำสั่งทางปกครองตัวอย่างของคำสั่งทางปกครอง คำสั่งที่มีต่อประชาชน 1. คำสั่งไม่ออกใบอนุญาต ไม่รับจดทะเบียน เพิกถอน หรือพักใช้ใบอนุญาต 2. คำสั่งเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของทางราชการ 3. คำสั่งให้กระทำหรืองดเว้นกระทำ 4. คำวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่ง

  33. ตัวอย่างคำสั่งทางปกครองตัวอย่างคำสั่งทางปกครอง • การออกใบอนุญาตก่อสร้าง อาคาร • การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท • การอนุญาตให้มีอาวุธปืน • การออกโฉนดที่ดิน • การเพิกถอนโฉนด หรือ น.ส.3 ก.

  34. กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2543) • การดำเนินการสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง ของทางราชการ เช่น • สั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขายหรือรับจ้าง • อนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง • สั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณา คำเสนอ • สั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน

  35. ตัวอย่างของคำสั่งทางปกครองตัวอย่างของคำสั่งทางปกครอง คำสั่งที่เกี่ยวกับการบริหารงาน บุคคล ลงโทษทางวินัย คำสั่งที่มีต่อข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ คำสั่งที่เกี่ยวกับสวัสดิการต่างๆ คำสั่งอื่น ๆ

  36. 2 4 5 6 3 1 บทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายใช้บังคับแก่กรณีใด หรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ ข้อบัญญัติท้องถิ่น กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง พระราชกฤษฎีกา ระเบียบ ข้อบังคับ ตัวอย่างของกฏ

  37. การกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1. ไม่มีอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจหน้าที่ 2. ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 3. ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสำคัญ 4. ไม่สุจริต 5. เลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม 6. สร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็นหรือสร้าง ภาระเกินสมควร 7. ใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ

  38. (ม. 9 วรรคหนึ่ง(2) คดีเรื่องเหตุเดือดร้อนรำคาญ คดีละเลยไม่บังคับตามกม.ควบคุมอาคาร คดีละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า

  39. คดีละเมิดในอำนาจศาลปกครองคดีละเมิดในอำนาจศาลปกครอง 1. ละเมิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่ 2. การปฏิบัติหน้าที่ในกรณี ดังนี้ • การใช้อำนาจตามกฎหมาย • กฎ คำสั่งทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น • ละเลยต่อหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด ปฏิบัติ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า

  40. คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 271/2545 (ป.) พิเคราะห์มาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลฯ การขุดคูส่งน้ำและถมถนนตามคำฟ้องเป็นส่วนหนึ่งของการจัดให้มีทางน้ำและทางบกตามอำนาจหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีตามกฎหมายแม้ผู้ถูกฟ้องคดีจะทำสัญญาขุดคูส่งน้ำและถมถนนกับนายวิโรจน์ ถือได้ว่าผู้ถูกฟ้องคดีใช้อำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายดำเนินการจัดให้มีและบำรุงรักษา ทางน้ำและทางบก... โดยมอบหมายให้นายวิโรจน์ ผู้รับจ้างเป็นผู้ดำเนินการแทน ..จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิดตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (3) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ

  41. 1 2 ละเมิดจากการรักษาพยาบาลที่ไม่ดีของแพทย์ของโรงพยาบาลของรัฐ ละเมิดจากอุบัติเหตุ รถชน ตัวอย่างคดีละเมิดที่ไม่ขึ้นศาลปกครอง

  42. สัญญาทางปกครอง (มาตรา ๓) หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครอง หรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ

  43. สัญญาทางปกครอง 1. คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายหนึ่งเป็นฝ่ายรัฐเพื่อแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ 2. ประเภท เนื้อหา หรือวัตถุประสงค์ของสัญญาเป็นการสัมปทาน ให้จัดทำบริการสาธารณะ จัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ โดยให้เข้าดำเนินการหรือร่วมดำเนินการบริการสาธารณะโดยตรง หรือมีข้อกำหนดพิเศษในสัญญาที่แสดงถึงเอกสิทธิ์ของรัฐ

  44. 3. กปภ.จ้าง หจก. ปรับปรุงขยายการประปาแม่แตง โดยมีธนาคารค้ำประกัน 1. อบต.จ้าง หจก. ก่อสร้างประปาหมู่บ้าน 2. สัญญาให้อาจารย์ลาศึกษาต่อ 4. เทศบาลจ้าง หจก.สร้างเมรุเผาศพ ตัวอย่างสัญญาทางปกครอง

  45. พ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย พุทธศักราช 2456 (มาตรา 90) มาตรา 90 ... ให้เจ้าท่า หรือเจ้าพนักงาน ผู้มีหน้าที่ตามมาตรา 89 บังคับให้รื้อถอนแพคนอยู่ หรือเรือนที่ปักเสาลงในชายฝั่งน้ำโดยให้ผู้เป็นเจ้าของเสียค่ารื้อถอนนั้นเอง ในกรณีที่เจ้าของไม่รื้อถอนภายในกำหนดเวลาที่เจ้าท่าหรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ตามมาตรา 89 กำหนดให้เจ้าท่าร้องขอต่อศาลเพื่อมีคำสั่งให้เจ้าท่าเป็นผู้จัดการให้มีการรื้อถอน...

  46. พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ม.42 ถ้าการกระทำตามมาตรา 40 เป็นกรณีที่ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องได้ หรือเจ้าของอาคารมิได้ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 41ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร ผู้ควบคุมงานหรือผู้ดำเนินการรื้อถอนอาคารนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนได้ภายในระยะเวลาที่กำหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ...

  47. พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ม.43 (1) ถ้าไม่มีการรื้อถอนอาคารตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 42 ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) ยื่นคำขอฝ่ายเดียวโดยทำเป็นคำร้องขอต่อศาล ... ขอให้ศาลมีคำสั่งจับกุมและกักขังบุคคลซึ่งมิได้ปฏิบัติการตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น... (2) ดำเนินการหรือจัดให้มีการรื้อถอนอาคารดังกล่าวได้เอง...

  48. พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 (มาตรา 116) เมื่อ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์แล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัยนั้นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ก.พ.ค. มีคำวินิจฉัย ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุดภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ทราบหรือถือว่าทราบคำวินิจฉัยของ ก.พ.ค.

  49. 1 2 3 การดำเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร การดำเนินการของ ก.ต. คดีของศาลชำนัญพิเศษ คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง (มาตรา 9 วรรคสอง)

  50. พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานฯ มาตรา 8 ศาลแรงงานมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) คดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงาน หรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง (2) คดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายแรงงานฯ … (5) คดีอันเกิดแต่มูลละเมิดระหว่างนายจ้างและลูกจ้างสืบเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน …

More Related