1 / 27

การเล่าเรื่อง

การเล่าเรื่อง. ( Story Telling ). วัตถุประสงค์. เพื่อให้เรื่องน่าสนใจ เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ เพื่อให้สามารถนำไปถ่ายทอด. กำหนดกรอบ / แนวคิดของเรื่อง เช่น เรื่องประสบการณ์ , การแก้ปัญหา , เทคนิคการทำงาน ลำดับขั้นตอนให้ชัดเจน เกิดอะไรขึ้น / ใครทำอะไร / ที่ไหน / อย่างไร

Download Presentation

การเล่าเรื่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเล่าเรื่อง (Story Telling)

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เรื่องน่าสนใจ • เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ • เพื่อให้สามารถนำไปถ่ายทอด

  3. กำหนดกรอบ / แนวคิดของเรื่อง เช่น เรื่องประสบการณ์,การแก้ปัญหา, เทคนิคการทำงาน ลำดับขั้นตอนให้ชัดเจน เกิดอะไรขึ้น / ใครทำอะไร / ที่ไหน / อย่างไร เน้นประสบการณ์ตรง หลักการเล่า

  4. หลักการเล่า (ต่อ) บอกผลลัพธ์ การสะท้อนอารมณ์ / เรื่องราว เรียนรู้ร่วมกัน

  5. กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้วกาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว การแสดงสถานะว่าเรื่องเล่าได้เริ่มต้น ตัวละครเริ่มเจอสถานการณ์ /ปัญหา /ความก้าวหน้า แล้วอยู่มาวันหนึ่ง ด้วยเหตุนี้เอง เรื่องเล่าเริ่มเปลี่ยนทิศทางตัวละครเพื่อรับมือกับปัญหา จุดตื่นเต้นเร้าใจ ตัวละครรับมือกับความท้าท้ายที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ของการกระทำ บทเรียนรู้ที่ตัวละครเรียนรู้จากการกระทำและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ข้อคิด

  6. สิ่งที่ทำให้เรื่องเล่าน่าสนใจสิ่งที่ทำให้เรื่องเล่าน่าสนใจ • ใช้ภาษาง่าย/สนุกสนาน • น้ำเสียง/จังหวะ • การใช้อุปมาอุปไมย • ลีลา / ท่าทาง • อารมณ์ขันเพื่อคลายเครียด

  7. ( care & learn ) วิธีการเล่า

  8. เปิดประเด็น เล่าเรื่อง ( ให้ก่อน ) กระตุ้นให้เกิดส่วนร่วมในการสนทนา รักษาบรรยากาศด้วยมิตรไมตรี ไม่มีผิดถูก Care

  9. Learn • เปิดใจให้กว้างและใส • เรียนรู้สิ่งใหม่ • ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม • พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง

  10. คุณสมบัติของนักเล่าเรื่องที่ดีคุณสมบัติของนักเล่าเรื่องที่ดี • เตรียมเนื้อหาที่จะเล่าใช้หลักการเล่าเรื่อง - ลำดับเหตุการณ์ - ตัวละคร - แฝงด้วยแง่คิด • ความรู้สึกของผู้เล่า - แสดงความรู้สึก อารมณ์ไปกับการเล่าเรื่อง • เสียงดังชัดเจน ท่าทางประกอบ มีอารมณ์ขัน • ฝึกหัดการเล่าเรื่องบ่อย ๆ

  11. คุณสมบัติของนักเล่าเรื่องที่ดี (ต่อ) • นักฟังที่ดี - หัดฟังผู้อื่นเล่า - สังเกต เก็บเทคนิค - ข้อความต่าง ๆ • นักอ่านที่ดี - ช่วยในการหาข้อมูล เพื่อพัฒนาความรู้ นำมาเสริมในการเล่าเรื่อง • เชื่อมั่นในตนเอง

  12. แนวคิดเรื่องการบันทึกแนวคิดเรื่องการบันทึก • จับประเด็นสำคัญ • เห็นปัญหาต่าง ๆ • พาไปสู่วิธีแก้ไข • เห็นเนื้อแท้ของผลลัพธ์ • ลำดับของแหล่งอ้างอิง

  13. หน้าที่ของคุณลิขิต • สรุปประเด็นให้สมาชิกทุกคนเห็นโดยไม่มีการปรับเปลี่ยนคำพูด (ใช้ Flip chart) • ตรวจสอบสิ่งที่จดบันทึกเป็นระยะ • ช่วยผู้นำกลุ่ม เพื่อทำให้เกิดความต่อเนื่องขอข้อมูล • จัดทำสรุปสิ่งที่บันทึกได้ • นำเสนอให้กลุ่มพิจารณา

  14. เคล็ดลับสำหรับคุณลิขิตเคล็ดลับสำหรับคุณลิขิต • ซักถามเพื่อทำความกระจ่าง เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลถูกต้อง • บันทึกเฉพาะคำหรือวลีที่เป็นคำสำคัญไม่ต้องเขียนทุกคำพูด • ใช้คำพูดที่ผู้กล่าว ไม่ใช่การแปลความ • ขีดวงกลมหรือขีดเส้นใต้สำหรับการตัดสินใจในกิจกรรมที่ต้องทำ

  15. เคล็ดลับสำหรับคุณลิขิต (ต่อ) 5. ให้หมายเลขในกระดาษ Flip chart • บันทึกทุกความคิด แม้ผู้บันทึกจะไม่เห็นด้วย • ถ้าการประชุมนานมาก ให้มีการทบทวน

  16. ทบทวน เรื่องเล่า • เรียบเรียงและจัดลำดับความสำคัญ • ความสัมพันธ์ของเรื่องราว • เชื่อมโยงกับ • สถานการณ์ (Case)/Context • การกระทำ (Action) • ผลลัพธ์ (Result)

  17. แผนที่ความคิด/ การจดบันทึก (สถานการณ์ภาพรวม) Context ? who what Action when ชื่อเรื่อง คลังความรู้ where why How บทเรียนรู้ ผลลัพธ์ ข้อคิด ประเด็นหลัก/ หลักการสำคัญ ? ? แหล่งข้อมูล

  18. แบบบันทึกคลังความรู้ (Knowledge Asset) ชื่อเรื่อง ..........................................

  19. เทคนิคการเล่า • ประเด็นหลักที่สำคัญ เช่น กระบวนการให้บริการ ฯลฯ • บริบทของหน่วยงานว่าเป็นอย่างไร • ประเด็นหลัก/หลักการที่สำคัญ • เป้าหมาย/เครื่องชี้วัด • กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ (แลกเปลี่ยนเรียนรู้) • แผนการพัฒนาเรื่อง การให้บริการอย่างต่อเนื่องอย่างไร

  20. เทคนิคของการเขียนแผนที่ความคิดเทคนิคของการเขียนแผนที่ความคิด ? Context ? ประเด็นหลักที่สำคัญ ? เป้าหมาย/เครื่องชี้วัด Who/Team CoPs เรื่อง การให้บริการ what where กระบวนการ เพื่อให้ได้คุณภาพ when why How ? แผนพัฒนา ? ผลลัพธ์ ? ประเด็นหลัก/หลักการสำคัญที่ประสบความสำเร็จ

  21. คลังความรู้ (Knowledge Asset) ชื่อเรื่อง ..........................................

  22. ทักษะคุณอำนวยสู่การปฏิบัติทักษะคุณอำนวยสู่การปฏิบัติ • ให้กลุ่มนำความรู้ที่ได้มาบูรณาการเพื่อสร้างคลังความรู้ - เล่าเรื่อง - จดบันทึก - จัดทำคลังความรู้ • นำเสนอคลังความรู้ต่อที่ประชุมใหญ่

  23. แบ่งสมาชิกในแต่ละกลุ่มแบ่งสมาชิกในแต่ละกลุ่ม คุณกิจ * ประธาน * เลขา (ผู้จดบันทึก) * ผู้เล่าเรื่อง * ผู้นำเสนอ * สมาชิกในทีม คุณอำนวย * ผู้กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * ผู้สังเกตการณ์ * ผู้ช่วยจดบันทึก กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดคลังความรู้

  24. การทบทวนหลังปฏิบัติกิจกรรม (After Action Review : AAR) • นั่งล้อมวงเป็นวงกลม • ทำทันทีหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม • วัตถุประสงค์กิจกรรมครั้งนี้ • คุณอำนวย “ตั้งคำถาม” • จดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้

  25. วัตถุประสงค์ 1. เรียนรู้แนวคิด และเครื่องมือการจัดการความรู้ 2. เรียนรู้บทบาท / หน้าที่ของคุณอำนวย 3. ติด “อาวุธ” ให้กับคุณอำนวยเพื่อนำความรู้และทักษะ ไปประยุกต์ใช้ในเวทีของการแลกเปลี่ยนความรู้

  26. คำถาม (After Action Review : AAR) • วัตถุประสงค์ของกิจกรรม คืออะไร ? • สิ่งที่เกิดขึ้นในขณะดำเนินกิจกรรม - มีส่วนใดบ้างบรรลุเป้าหมาย / เพราะอะไร? - มีส่วนใดบ้างที่เรายังไม่บรรลุเป้าหมาย / เพราะอะไร? • อะไรคือสิ่งที่เราได้เรียนรู้ในครั้งนี้?

  27. Z Z ..ฟังจนหลับเข้าใจหมดแล้วครับ สวัสดี

More Related