1 / 51

สมการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์

สมการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์. กฎข้อที่ 1 : D U = q + W หรือ d U = D q + D W. d U = T d S - P d V ... (1). นิยาม H = U + PV d H = d U + d( PV ) = ( T d S - P d V ) + ( P d V + V d P ).

zelda
Download Presentation

สมการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สมการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์สมการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ 1 : DU = q + W หรือ dU = Dq + DW dU = TdS - PdV ... (1) นิยาม H = U + PV dH = dU + d(PV) = (TdS - PdV) + (PdV + VdP) dH = TdS + VdP ...(2)

  2. นิยาม A = U - TS dA = dU - d(TS) dA = - PdV - SdT .... (3) นิยาม G = H - TS dG = dH - d(TS) dG = VdP - SdT ... (4)

  3. dU = TdS - PdV dH = TdS + VdP dA = - PdV - SdT dG = VdP - SdT Maxwell Relation

  4. U = U (V,S) dU = TdS - PdV H = H (P,S) dH = TdS + VdP A = A (V,T) dA = - PdV - SdT G = G (P,T) dG = VdP - SdT

  5. Fundamental Equation dU = TdS - PdV dH = TdS + VdP

  6. dA = -PdV - SdT dG = VdP - SdT สมการนี้มีการแก้ไข

  7. จากสมการ A = U - TS จะได้U =A +TS diff เทียบกับ V เมื่อ T คงที่ จะได้ แทนค่า และ

  8. (5) (6) …(5) จะได้ ทำนองเดียวกัน จาก G = H-TS …(6) จะได้ สมการสภาวะในเทอร์โมไดนามิกส์ (State Equations of Thermodynamics)

  9. สำหรับ ideal gas : (จากสมการ 5) จะได้ นั่นคือ เมื่อปริมาตรคงที่ : ln P = ln T + k’ P = k”T k” = nRT/V

  10. H slope = CP TS G = H T ฎ slope = - S G รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง G, H กับ T เมื่อ P คงที่

  11. ข้อสังเกต: ความชันของ H เป็นบวก เนื่องจาก ซึ่งมีค่าเป็นบวกเสมอ ความชันของ G เป็นลบ เนื่องจาก และค่า S เป็นบวกเสมอ

  12. DH energy change slope = DCP DG slope = - DS T (K) ฎ

  13. ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับความดัน จากสมการ dG = VdP - SdT dG = VdP เมื่ออุณหภูมิคงที่ (dT = O) : for ideal gas : PV = nRT

  14. G(T,P) GO(T) เมื่อ P2 P1 = 1 atm for Solid & Liquid DG = V(P2 - P1) V ไม่เป็นฟังก์ชันกับ P หรือ DG = G(T,P) - GO(T) = V(P2 - P1) G(T,P) = GO(T) - V(P2 - 1) หรือ

  15. สมดุลเคมีสำหรับปฏิกิริยาเคมีสมดุลเคมีสำหรับปฏิกิริยาเคมี k A + B C + D k’ การเกิดสภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี มีลักษณะเป็น ไดนามิกส์ คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า เท่ากับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = k[A][B] อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ = k’[C][D]

  16. เมื่อ k และk’ เป็นค่าคงที่อัตราของการเกิดปฏิกิริยา ไปข้างหน้า และย้อนกลับตามลำดับ [A], [B], [C] และ [D] คือความเข้มข้นของสาร A, B, C และ D ตามลำดับ ที่สมดุล จะได้ k[A][B] = k’[C][D] เมื่อ K คือ ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา (chemical equilibrium constant)

  17. ถ้าพิจารณาปฏิกิริยา aA + bB cC + dD โดยที่ A,B,C,D, เป็นแก๊ส Chemical Equilibrium ความสัมพันธ์ระหว่าง DGo กับค่า Equilibrium Constant (K) จากสมการ

  18. จะได้

  19. Q = reaction quotient = activity of products activity of reactants DG - DGo = RT ln (PC/PCo)c (PD/PoD)d (PA/PoA)a(PB/PoB)b DG =DGo + RT ln Q

  20. ที่ equilibrium: DG = O DGo = - RT ln (PC/PCo)c (PD/PDo)d (PA/PAo)a(PB/PBo)b DGo = - RT ln KP KP คือ ค่าคงที่สมดุล (equilibrium constant)

  21. = G ศักย์เคมี m Chemical Potential Molar Gibbs’ Free Energy

  22. mi = Gi = Gio(T) + RTln Pi ในกรณีของของผสม (แก๊สสมบูรณ์แบบ) ค่า chemical potential (m) ของ component i คือ เมื่อ Gio คือ standard chemical potential ของ component i Pi คือ ความดันย่อย (partial pressure)

  23. จากความสัมพันธ์: Pi = xi P เมื่อP=ความดันรวม (total pressure) (Dalton’s Law) จะได้ Gi = Gio(T) + RTln P + RTlnxi เป็นค่า chemical potential ของ pure component i ที่ความดันเท่ากับ P

  24. จาก Gi = Gipure(T,P) + RT lnxi G1 = G1pure(T,P) + RT lnx1 ดังนั้น สำหรับตัวทำละลาย (solvent) : (1) (2) สำหรับตัวถูกละลาย (solute) : G2 = G2pure(T,P) + RT lnx2

  25. หรืออาจเขียนอยู่ในรูปของ molality(m) หรือ molarity(M) แทน mole fraction(x) ได้ เช่น G2 = G2pure(T,P) + RTln m2 ในกรณีของ non-ideal solution Lewis เสนอให้ใช้ เทอม activity (a) แทน ความเข้มข้น

  26. G2 = G2pure(T,P) + RT ln a2 โดยที่ สารที่มีพฤติกรรมคล้าย ideal solution มี ค่า gฎ 1

  27. Fugacity and Activity Pressure (P) ideal gas Fugacity ( f ) real gas Concentration (C) ideal solution Activity (a) real solution

  28. Mole fraction:จำนวนโมลของสารต่อจำนวน โมลทั้งหมดในสารละลาย (ไม่มีหน่วย) Molality:จำนวนโมลของสารในตัวทำละลาย 1000 g (หน่วยเป็น Molal) Molarity:จำนวนโมลของสารในสารละลาย 1000 cm3 (หน่วยเป็น Molar)

  29. Real gas: dm = RT ln f = RT ln (gP) เมื่อ g = f คือ สัมประสิทธ์ของฟูกาซิตี P (fugacity coefficient) สำหรับ ideal gas : f = P กรณีที่ real gas มีความดันน้อยมากๆ จะมีพฤติกรรมแบบ ideal gas นั่นคือ หรือ

  30. ในกรณี ideal gas: Vid = RT P ในกรณี real gas: V = RT P dm - dmid = (V - Vid) dP จากสมการ dm = V dP เมื่อ T คงที่ กรณี ideal gas: dmid = Vid dP

  31. (m - mid) - (m’ - m’id) = (V - Vid)dP (m - mid) = (V - Vid)dP d(m - mid) = (V - Vid)dP ถ้าอินติเกรด จาก P’ ฎ P จะได้ m’ - m’id = 0 ถ้า P ’ ฎ 0: m’ = m’id ;

  32. ที่ P = 1 atm: หรือ หรือ

  33. P P ฎ หาได้จากพื้นที่ใต้ curve ของ กราฟระหว่าง กับ P เทอม

  34. กำหนดให้ Z เป็นแฟรกเตอร์ ของการอัดตัว (compressibility factor) หรือ

  35. แทนค่า และ จะได้

  36. กรณีที่สารเป็นสารละลายกรณีที่สารเป็นสารละลาย K = [C]c [D]d [A]a [B]b โดยที่ [C]o = 1 M [D]o = 1 M [A]o = 1 M [B]o = 1 M ([C]/[C]o)c ([D]/[D]o)d ([A]/[A]o)a ([B]/[B]o)b =

  37. ทำนองเดียวกับสมการ สามารถเขียนสมการได้ในรูปของ ที่สภาวะมาตรฐาน a = 1 หน่วยความเข้มข้น จะได้

  38. ในกรณีของสารละลายเจือจางมากๆในกรณีของสารละลายเจือจางมากๆ (infinite dilution) สารละลายจะมี พฤติกรรมแบบสารละลายสมบูรณ์แบบ (solvent): (solute):

  39. และจาก G = H-TS ; -S = G-H T ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ จากสมการ: จะได้

  40. จากความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์จากความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ เมื่อ 1/T = M และ G = N

  41. แทนค่า G = H-TS และ

  42. สมการกิบบส์ - เฮล์มโฮลตซ์ (Gibbs-Helmholtz’ equation) และ สามารถเขียน อยู่ในรูปของ การเปลี่ยนแปลง ฟังก์ชันได้ดังนี้

  43. ความสัมพันธ์ของค่า DGo, K กับอุณหภูมิ DGo = - RT ln KP จาก

  44. แทนค่า สมการกิบบส์ -เฮล์มโฮลตซ์: (Gibbs-Helmholtz’ equation)

  45. lnK slope = 1/T ฏ

  46. lnK slope = 1/T เมื่ออุณหภูมิ (T) ของระบบเปลี่ยนแปลง ค่า K จะเปลี่ยนแปลงแบบใด ขึ้นอยู่กับชนิดของ ปฏิกิริยา (คือ ขึ้นกับเครื่องหมายของค่า DH) slope เป็นบวก แสดงว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ค่า KPลดลง

  47. หลักของLeChatelier ถ้า DH < 0 ( คายความร้อน) ค่า K จะลดลงเมื่อ T สูงขึ้น คือ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับระบบแบบคายความร้อน จะมีผลทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นในทิศทาง ย้อนกลับ(K ลดลง) ถ้าต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นในกรณีนี้ ต้องลดอุณหภูมิ ถ้า DH > 0 (ดูดความร้อน) ค่า K จะเพิ่มขึ้นเมื่อ T สูงขึ้น คือ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับระบบแบบดูดความร้อน จะมีผลทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นจาก ซ้าย ฎ ขวา(K เพิ่มขึ้น)

  48. จากสมการ: แทนค่า เมื่อ DCP = Da + DbT + DcT2 + ...

  49. integrate จะได้ เทอมในหนังสือบางเล่ม เขียนเป็น IH IKเป็นค่าคงที่อินติเกรชัน สามารถคำนวณได้ ถ้าทราบค่า K ที่อุณหภูมิหนึ่ง

  50. Ex The entyme phosphorylase b can be activated by the addition of AMP. The dissociation constant (Kd) for the reaction : phosphorylase b . AMP phosphorylase b + AMP varied with temperature as follows:

More Related