1 / 68

กลุ่มปกติ

กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM/Pre-HT. พฤติกรรมสี่ยง. กลุ่มปกติ. - FCG 100 - 125 - BP 120/80 – 139/89. ป่วย. - ภาวะอ้วน (BMI  25 กก./ม.2) - การดื่มสุรา สูบบุหรี่ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม ออกกำลังกายน้อย. - FCG < 100 - BP < 120/80. - FCG ,FPG > 126 - BP > 140/90. พิการ.

zarek
Download Presentation

กลุ่มปกติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM/Pre-HT พฤติกรรมสี่ยง กลุ่มปกติ - FCG 100 - 125 - BP 120/80 – 139/89 ป่วย • -ภาวะอ้วน (BMI  25 กก./ม.2) • - การดื่มสุรา สูบบุหรี่ • การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม • ออกกำลังกายน้อย - FCG < 100 - BP < 120/80 - FCG ,FPG > 126 - BP >140/90 พิการ ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • - ตา • - ไต • เท้า • สมอง • หัวใจ กรอบแนวคิดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  2. เป้าหมายการดำเนินงาน ปรับพฤติกรรม 3อ. + 2ส. 1. ลดป่วย ลดพฤติกรรมเสี่ยง หมู่บ้านต้นแบบ (SRM) 2. ควบคุมโรค (good control) ลดพิการ ลดภาวะแทรกซ้อน คุณภาพชีวิตที่ดี

  3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวโรกาส ทรงเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา 2. เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน ตลอดจนกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ ตนเอง 3. เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกและบริการที่เหมาะสมแก่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ( ลดป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย ) 4. เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น 5. เพื่อให้มีระบบเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยง

  4. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ ระดับกิจกรรม ระดับผลผลิต • จัดระบบบริการสุขภาพเชิงรุก เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง • จำนวนหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อำเภอละ 1 หมู่บ้าน/ชุมชน • ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนด • ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวาน • ไม่เกินร้อยละ 5 • อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ 3

  5. กลยุทธ์ / มาตรการ 1. มาตรการหลัก 2. มาตรการสนับสนุน 1.1 การพัฒนาระบบบริการ (Individual approach) ก. การตรวจสุขภาพเชิงรุก ข. การให้บริการในสถานบริการ 1.2 การพัฒนาศักยภาพชุมชน (Community approach) โดยใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์: SRM ( Strategic Route Map ) 2.1 การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ 2.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชน และทำคู่มือต่างๆ 2.3 การจัดระบบการติดตามประเมินผล เช่น NCD Board 2.4 การจัดระบบฐานข้อมูล

  6. ตรวจคัดกรอง SRM

  7. 1. Approachกลุ่มประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • FCG 100 - 125 • BP 120/80 – 139/89 • FPG > 126 • BP >140/90 • ตา • ไต • เท้า • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. เข้มข้น • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC • รักษาดู HbA1C • ค้นหาภาวะแทรกซ้อน • ถ่ายภาพจอประสาทตา • microalbuminuria • ตรวจเท้า • รักษาโรคและ • ภาวะแทรกซ้อน 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มปกติ • FCG < 100 • BP < 120/80 3อ. 2ส.

  8. 2. Community approach การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กระบวนการ ขั้นตอนที่สำคัญของการสร้างและการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) คือ “ สร้าง 3 ขั้นตอน ” “ ใช้ 4 ขั้นตอน ” รวมทั้งสิ้น 7 ขั้นตอน

  9. การดำเนินงานในชุมชนที่ส่งผลต่อการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานการดำเนินงานในชุมชนที่ส่งผลต่อการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงมีหลายรูปแบบ โดยหน่วยงานต่างๆ ประกอบด้วย กรมอนามัย องค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ กรมควบคุมโรค ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพลดโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  10. เกณฑ์การดำเนินงานหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ • มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) ในการดำเนินงานหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ • มีระบบข้อมูลในการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของชุมชน • มีการดำเนินกิจกรรมโดยชุมชนเพื่อสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่ การดำเนินกิจกรรม ๓อ ๒ส การจัดการสิ่งแวดล้อม การมีนโยบายท้องถิ่น/พันธะสัญญา ที่เอื้อต่อสุขภาพ

  11. เกณฑ์การดำเนินงานหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ๔) ผลผลิตและผลลัพธ์การดำเนินงาน • ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ • ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น • ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป เพศชาย ที่มีรอบเอวน้อยกว่า ๙๐ ซม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ • ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป เพศหญิง ที่มีรอบเอวน้อยกว่า ๘๐ ซม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ • ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ ๕

  12. 3. การสนับสนุนในการดำเนินงาน • มีคณะกรรมการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCD Board ) • การจัดทำระบบข้อมูล • 3. การประชาสัมพันธ์โครงการฯ • การอบรมและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ • การพัฒนาคลินิก DPAC เช่น ใน รพ.สต.

  13. ตรวจราชการแบบเร่งด่วนตรวจราชการแบบเร่งด่วน

  14. รหัสตัวชี้วัด : ๐๑๐๑ • จังหวัดมีผลการดำเนินโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ในระดับดีมากถึงดีเยี่ยม ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน กระบวนการดำเนินงาน ผลผลิตการดำเนินงาน ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน

  15. ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน ๑.๑ NCD Board มีการบริหารจัดการและมีการประชุมเดือนละ ๑ ครั้ง ๑.๒ มีแผนงานโครงการของจังหวัดที่สอดคล้องกับ แนวทางการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ๑.๓ มีระบบข้อมูลในการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑.๔ มีแผนการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

  16. กระบวนการดำเนินงาน ๒.๑ มีการตรวจสุขภาพเชิงรุก ๒.๒ มีการคัดกรองประชาชน แบ่งกลุ่มเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ๒.๓ มีการจัดตั้งคลินิก DPAC เป้าหมายอย่างน้อย ๑ อำเภอ / ๑ รพ.สต. ๒.๔ มีการตรวจรักษาโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ได้มาตรฐานของ รพ.สต, รพช., รพท. และ รพศ. เพื่อการควบคุมโรคที่ดีตามเป้าหมาย (Good control) ๒.๕ มีการค้นหาภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๒.๖ มีหมู่บ้าน / ชุมชน โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกตำบล

  17. ผลผลิตการดำเนินงาน ๓.๑ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ๓.๒ มีหมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ที่ดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน ๑ รพ.สต. / ๑ หมู่บ้าน (ชุมชน)

  18. ผลลัพธ์ของการดำเนินงานผลลัพธ์ของการดำเนินงาน ๔.๑ pre-DM ปี ๒๕๕๓ ป่วยเป็น DM ปี ๒๕๕๔ ไม่เกินร้อยละ ๕ (หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี ๒๕๕๓ อย่างน้อยร้อยละ ๒) ๔.๒ อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วย DM ลดลง จากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี ๒๕๕๓ อย่างน้อยร้อยละ ๓ ๔.๓ อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วย HT ลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี ๒๕๕๓ อย่างน้อยร้อยละ ๓ (ข้อมูล ๔.๒ , ๔.๓ จากรง. ๕๐๕ ช่วงเดือนตุลา ๕๓ -กันยา ๕๔)

  19. pre-DM ปี ๒๕๕๓ ป่วยเป็น DM ปี ๒๕๕๔ ไม่เกินร้อยละ ๕ A = ประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองในปี ๕๓ ว่าเป็น pre-DM และผลการติดตามในปี ๕๔ พบเป็น DM B = ประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองในปี ๕๓ ว่าเป็น pre-DM สูตรคำนวณ A * ๑๐๐ ถ้าตาม B ได้ไม่ครบ ให้ใช้ฐานจำนวน pre-DM ที่สามารถติดตามได้ในปี ๕๔ B

  20. แก้ไขการคำนวณตัวชี้วัดแก้ไขการคำนวณตัวชี้วัด อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานลดลง ( slide แผ่นที่ 22 )

  21. เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงในปี 2553 และ 2554 ค่าเป้าหมาย = อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ในปี 2554 ลดลงจากปี 2553  ร้อยละ 3 สูตรการคิดอัตราเพิ่มปี X= admission rate ปี X -admission rate ปี ( X-1 ) admission rate ปี ( X-1 ) X 100 หน่วยร้อยละ

  22. แหล่งข้อมูล :- ใช้ฐานข้อมูลจาก รายงาน 505 ตามปีงบประมาณ เดือน ตค.-กย. ของแต่ละพื้นที่ สูตรคำนวณ ตัวอย่างเบาหวาน อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน ปี 2553 (หน่วย ร้อยละ) admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2553 – admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2552x 100 admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2552 = อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน ปี 2554 (หน่วย ร้อยละ) admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2554 – admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2553x 100 admission rateด้วยโรคเบาหวานปี 2553 =

  23. ตัวอย่าง 780 -720 x 100 อัตราเพิ่ม.. ปี 2554 = 8.33 720 720 -650 x 100 = 10.76 อัตราเพิ่ม.. ปี 2553 650 อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานในปี 2554 ลดลงร้อยละ 2.43= ไม่ผ่านเกณฑ์

  24. ตรวจราชการแบบบูรณาการตรวจราชการแบบบูรณาการ

  25. นโยบายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯนโยบายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ ตรวจติดตาม:ภารกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และพื้นที่ โดยยึดประชาชนเป็นหลัก (เป็นไปตามระเบียบ สนร.) เน้น:ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ผลสัมฤทธิ์ ตามนโยบาย:รัฐบาล / ยุทธศาสตร์จังหวัด / กลุ่มจังหวัด / ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าประสงค์:หน่วยรับตรวจ มีการดูแลตนเองที่ดี เป็นไปตามหลักธรรมมาภิบาล สามารถลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ และบรรลุผลสำเร็จตามนโยบายรัฐบาล

  26. ความหมายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯความหมายการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ

  27. ผลสัมฤทธิ์ของการตรวจราชการแบบบูรณาการฯผลสัมฤทธิ์ของการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ • หน่วยรับตรวจมีขีดสมรรถนะในการดำเนินงาน เพิ่มขึ้น สามารถลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้จนเกิดผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ • หน่วยรับตรวจมีระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง ตอบสนองต่อ นโยบายรัฐบาล และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

  28. นโยบายการตรวจราชการฯ ตามมติคณะรัฐมนตรี ๑. ให้ ผตร.กระทรวง และ ผตร.สปน. นำข้อเสนอแนะใน รายงานผลการตรวจฯ ไปพิจารณาในส่วนที่เกี่ยวข้อง และ ให้ ผตร.สปน.ติดตามผล รายงานต่อ ครม.ให้ทราบ ๒. ให้กรม/หน่วยงานในสังกัดกระทรวง รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการที่มีผลต่อยุทธศาสตร์กระทรวง / ชาติ ให้ ผตร.กระทรวงทราบด้วย เพื่อจะได้ตรวจติดตาม ๓. ให้กรมภายในกระทรวง และระหว่างกระทรวง ประสาน โครงการกัน ทั้งการจัดทำแผน และการดำเนินงาน

  29. นโยบายการตรวจราชการร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้องนโยบายการตรวจราชการร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง  ให้ ผตร.กระทรวง แต่ละกระทรวง ประสานการตรวจราชการร่วมกันในโครงการ ที่มีการเชื่อมโยงกัน  ให้มีการจัดทำรายงานร่วมกันของ ผตร. กระทรวง และ ผตร.สปน. เมื่อเสร็จสิ้น การตรวจราชการในรอบที่ ๓ เพื่อสามารถให้ ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายแก่รัฐบาลได้

  30. โครงการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการฯของกระทรวงสาธารณสุข ปี๒๕๕๔

  31. การกำหนดความเสี่ยงในการดำเนินโครงการการกำหนดความเสี่ยงในการดำเนินโครงการ

  32. การประเมินความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ การประเมินความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ประเมินจาก “ค่าดัชนีความเสี่ยง” ที่คำนวณจาก โอกาส x ผลกระทบ = ค่าดัชนีความเสี่ยง โอกาส  ระดับความเป็นไปได้ของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับการดำเนินงานโครงการ (มีค่า = ๑ถึง๕) ผลกระทบระดับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผลสัมฤทธิ์ หรือผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ (มีค่า = ๑ถึง๕)

  33. เกณฑ์การประเมิน

  34. เกณฑ์การประเมิน

  35. คณะกรรมการระดับจังหวัด ผวจ. –ประธาน สสจ. – เลขาฯ กรรมการ- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ(นอกสธ.)ภายในจังหวัด ตรวจราชการแบบบูรณาการ คณะกรรมการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD Board) สสจ./รองสสจ. –ประธาน งานสร้างเสริมสุขภาพ/งานNCD/งานสุขศึกษา – เลขาฯ กรรมการ- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากสสจ./ รพศ/รพท/รพช/เครือข่าย ตรวจราชการแบบเร่งด่วน

  36. ประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยงประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยง

  37. ประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยงประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์และประเด็นความเสี่ยง

  38. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

  39. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

  40. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล K ๑.๑ จังหวัดขาดการบริหารจัดการที่เข้มแข็งในการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ

  41. แบบติดตามฯ (ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ) K ๑.๑ ๑. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด ที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นเลขานุการ หรือไม่? อย่างไร? ๒. มีการแต่งตั้งคณะทำงานที่มาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัด หรือไม่? และในคำสั่งมีการระบุบทบาทหน้าที่ และกรอบการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยฯ หรือไม่? อย่างไร? ๓. จังหวัดมีแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงฯ แบบบูรณาการ หรือไม่? อย่างไร? และมีการผลักดันให้โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยฯเป็นนโยบายระดับจังหวัด หรือไม่? ๔. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงสาธารณสุข(ได้แก่ สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานเขต, อปท., เกษตรจังหวัด) ได้รับการถ่ายทอดนโยบายการดำเนินงานโครงการ หรือไม่? อย่างไร? และหน่วยงานดังกล่าว มีแผนงาน/โครงการที่รองรับ/สนับสนุนแผนของจังหวัด หรือไม่? อย่างไร?

  42. แบบติดตามฯ (ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ) K ๑.๑ ๕. มีกิจกรรมการดำเนินงานตามแผนของจังหวัด หรือไม่? อย่างไร? ๖. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องข้างต้นมีกิจกรรมการดำเนินงานตามแผนที่รองรับหรือไม่? อย่างไร? ๗. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องมีการรายงาน สรุปผลการดำเนินงานตามแผนเสนอต่อคณะกรรมการระดับจังหวัด หรือไม่? อย่างไร?

  43. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล: K ๒.๑

  44. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล K ๒.๑ ขาดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน

  45. แบบติดตามฯ (ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ) K ๒.๑ ๑. จังหวัดมีการกำหนดให้มีหน่วยงานประสานงานกลางของจังหวัดเพื่อการสื่อสารแลกเปลี่ยน การดำเนินงานระหว่างหน่วยงานต่างๆหรือไม่? อย่างไร? มีการจัดไว้ ณ ที่ใด? ๒. ช่องทางการสื่อสารการดำเนินการระหว่างกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่กำหนดไว้ได้แก่ช่องทางใดบ้าง (เช่น หนังสือราชการ เว็บไซด์ ระบบสารบรรณอิเลคทรอนิกส์ ) ๓. มีการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันหรือไม่? มีการติดตามความก้าวหน้าและพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือไม่? อย่างไร?

  46. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล: N ๑.๑

  47. เกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลเกณฑ์การประเมินค่าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล N ๑.๑ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ขาดการรับรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วม

More Related