1 / 10

รูปแบบโครงสร้างภาษาซี

รูปแบบโครงสร้างภาษาซี. Preprocessor Directive การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก variable declaration; การประกาศค่าชนิดตัวแปร program statement; ส่วนคำสั่ง } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน.

zalman
Download Presentation

รูปแบบโครงสร้างภาษาซี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบโครงสร้างภาษาซีรูปแบบโครงสร้างภาษาซี

  2. Preprocessor Directive การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก variable declaration; การประกาศค่าชนิดตัวแปร program statement; ส่วนคำสั่ง } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน #include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก char name[15]; การประกาศค่าชนิดตัวแปร printf(“What your name”); scanf(“%s”,&name); } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน ส่วนของคำสั่ง

  3. ไดเร็คทีฟ #include หมายถึง การสั่งให้คอมไพเลอร์นำสิ่งที่อยู่ในไฟล์ ซึ่งกำหนดไว้มารวมเข้ากับ Source Code ในที่นี้จะเป็นการนำสิ่งที่อยู่ในไฟล์ stdio.h มารวมกับ Source Code หมายเหตุ ถ้า ไดเร็คทีพ #include ไม่มี <stdio.h> โปรแกรมจะ error และ Compile ไม่ผ่าน ************************** ไลบราลีฟังก์ชัน <stdio.h> เป็นการบอกถึงฟังก์ชันมาตรฐานบน input/output ที่จะนำเข้ามารวมกัน โดยบอกไว้ที่ส่วนต้นของไฟล์โปรแกรม ไลบราลีฟังก์ชัน <conio.h> เป็นไฟล์ที่บอกถึงการรวมเอาฟังก์ชันเกี่ยวกับคอนโซลไว้ใช้

  4. เข้าสู่โปรแกรม Turbo C

  5. หน้าจอประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ 4 ส่วน คือ 1 เมนเมนู (Main Menu)ได้แก่ส่วนที่อยู่บรรทัดบนสุด ซึ่งเป็นรายการคำสั่งต่าง ๆ ได้แก่ File Editฯลฯ เป็นต้น 2. ส่วนของ Editคือบริเวณที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมใหญ่ ใช้สร้างและแก้ไขโปรแกรม หรือเรียกว่า พื้นที่เขียนโปรแกรมหน้าต่างเอดิต 3. ส่วนของ Message คือบริเวณที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ใช้แสดงข้อความต่าง ๆ เมื่อเกิดการผิดพลาดขึ้นในขณะที่เกิดการคอมไพล์หรือลิงก์โปรแกรม 4. ส่วนของฟังก์ชันคีย์ คือส่วนที่อยู่ล่างสุดเป็นปุ่มที่ทำหน้าที่ต่าง ๆ ของฟังก์ชันคีย์ที่มีอยู่ใน เทอร์โบ C จากนั้นกดคีย์ใด ๆ ก็ได้จะปรากฏ ดังนี้

  6. ขั้นตอนการใช้งาน 1. เมื่อเข้าสู่โหมดการทำงานของภาษาซี กด Esc เพื่อเข้าสู่โหมดการเลือกใช้คำสั่ง หรือกด F10

  7. Edit File Edit Run Compile Project Options Debug Break / watch Line 1 Col 1 Insert Indent Tab Fill Unindent C:NONAME.C รายละเอียดของข้อความต่าง ๆ ที่ส่วนบนของหน้าต่างมีดังนี้ Line 1แสดงบรรทัดที่เคอร์เซอร์อยู่ บรรทัดที่ 1 Col 1 แสดงคอลัมน์ที่เคอร์เซอร์อยู่ คอลัมน์ที่ 1 Insertถ้าขึ้นข้อความนี้ (Insert)แสดงว่าอยู่ในภาวะ Insert onจะสามารถพิมพ์ แทรกตัวอักษรที่ตำแหน่งเคอร์เซอร์อยู่ได้ ถ้ากดคีย์ Insertบนคีย์บอร์ดที่หน้าจอข้อความ Insertจะหายไปสภาวะนี้เป็น Insert offการพิมพ์จะเป็นการพิมพ์ทับตัวอักษร ถ้าหากต้องการให้เป็น Insert onต้องกดคีย์ Insertที่คีย์บอร์ดอีกครั้ง Indentถ้าขึ้นข้อความนี้บนหน้าจอแสดงว่าหลังจากพิมพ์ข้อความเสร็จแล้วกด Enter เคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่ให้ และถ้ากดคีย์ Ctrl+OIจะทำให้ข้อความ Indentหายไปเคอร์เซอร์จะอยู่ที่ คอลัมน์ที่ 1 ของบรรทัดเดิม

  8. Tab ถ้าปรากฏข้อความนี้แสดงว่าถ้ากดคีย์ Tab จะทำให้เคอร์เซอร์เลื่อนไปทางขวา 8 คอลัมน์ ถ้ายกเลิกสถานะนี้กดคีย์ Ctrl+OT ถ้ากดคีย์ Ctrl+OT อีกครั้งข้อความ Tab จะปรากฏที่หน้าจอีก Unindentถ้าขึ้นข้อความนี้ถ้าหากเคอร์เซอร์อยู่ที่บรรทัดใหม่ ถ้ากดคีย์ Backspaceบนคีย์บอร์ด เคอร์เซอร์จะเลื่อนมาทางซ้าย 1 ย่อหน้าเสมอ ถ้ากดคีย์ Ctrl+OUข้อความUnindentจะหายไป ในสภาวะนี้ Backspaceจะเป็นการลบตัวอักษรที่อยู่ทางซ้ายของเคอร์เซอร์ และถ้ากดคีย์ Ctrl+OU ซ้ำจะทำให้ ข้อความ Unindentปรากฏที่หน้าจออีก C:NONAME.C เป็นชื่อไฟล์ชั่วคราวที่ Turbo Cสร้างขึ้น สามารถเปลี่ยนชื่อไฟล์ได้ถ้าบันทึกเป็นชื่อใหม่

  9. รายละเอียดของคำสั่ง File โหลดไฟล์ที่ถูกบันทึกไว้ ที่มีนามสกุลเป็น “*.c” แสดงชื่อไฟล์ล่าสุดที่นำเข้าสู่หน่วยความจำ สร้างหรือเขียนโปรแกรมใหม่ บันทึกโปรแกรม เขียนทับโดยการบันทึกเปลี่ยนชื่อใหม่ แสดงชื่อไฟล์ในไดเร็คทรอรี่ ที่เรากำลังทำงานอยู่ เช่น C:/ เปลี่ยนไดเร็คทรอรี่หรือไดรฟ์ใด ๆ ที่ต้องการ เราสามารถเรียกคำสั่งต่าง ๆ ภายในระบบปฏิบัติการ Dos ได้ เลิกการทำงาน ออกจากโปรแกรม

  10. 2. การสร้างใหม่ไฟล์ให้เลือก Newโดยโปรแกรม จะกำหนดชื่อเบื้องต้นเป็น Noname.c

More Related