1 / 11

and

VLAN. and. Trunking. 6. Broadcast Domain แบ่ง VLAN ตามพอร์ท Access สมาชิก การใช้ลิงค์ Trunk แชร์ข้อมูลหลาย VLAN ระหว่างสวิตช์. 6-1. Flood!. Destination MAC (Broadcast). Payload. FF-FF-FF-FF-FF-FF. ARP Request. Fa0/1. Fa0/3. Fa0/2.

zaina
Download Presentation

and

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. VLAN and Trunking 6

  2. Broadcast Domain • แบ่ง VLAN ตามพอร์ท Access สมาชิก • การใช้ลิงค์ Trunk แชร์ข้อมูลหลาย VLAN ระหว่างสวิตช์ 6-1

  3. Flood! Destination MAC (Broadcast) Payload FF-FF-FF-FF-FF-FF ARP Request Fa0/1 Fa0/3 Fa0/2 • บริเวณที่บรอดคาสต์เฟรม (FF-FF-FF-FF-FF-FF) ส่งไปทั่วถึง • เช่นที่อยู่ปลายทางกายภาพของเฟรม ARP request • ยิ่งกว้าง Broadcast Frame ยิ่งกระจายมาก Bandwidth รวมถูกใช้เปลือง • Broadcast Domain = LAN = VLAN = Subnet คือ เป็นหน่วยของเครือข่ายทั้งสิ้น 6-2

  4. การแบ่งเครือข่ายแลนเสมือนการแบ่งเครือข่ายแลนเสมือน VLAN1 • ฟีเจอร์ของ Switch ที่แบ่ง Broadcast Domain ได้ด้วยตนเอง (ทำงานบน Layer2 ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ Layer3 มาแบ่งให้) • โดยการสร้าง VLAN แล้วนำอินเตอร์เฟสของตนแบ่งเข้าเป็นสมาชิกแต่ละ VLAN แบ่ง Broadcast Domain ทางลอจิคัล VLAN10 VLAN20 6-3

  5. การแบ่งเครือข่ายแลนเสมือนการแบ่งเครือข่ายแลนเสมือน • ประโยชน์ของการแบ่ง VLAN • ใช้แบนด์วิธคุ้มค่าขึ้นโดยลดความหนาแน่นของ Broadcast Frame • เพิ่มความปลอดภัย โดยจำกัดการเข้าถึงข้าม VLAN ด้วยฟีเจอร์ Layer3 เช่น ACL • จำกัดความเสียหายแค่ VLAN เดียว เช่น ผลของ Layer2 Loop หรือแอพพลิเคชั่นที่ใช้การสื่อสารแบบ Broadcast มีปัญหา 6-4

  6. SW3 B SW2 Access Port Trunk Port A SW1 • เพื่อใช้ VLAN ร่วมกันระหว่าง Switch คนละตัว เช่น สำนักงานคนละชั้น หรือระหว่างอาคาร • ทำให้ Switch แต่ละตัวใช้ VLAN ร่วมกันได้ โดยทำ Trunkingซึ่งเป็นการแบ่งพอร์ตของ Switch เป็น 2 แบบ: พอร์ท Access และพอร์ท Trunk VLAN 10 VLAN 20 VLAN 30 Dst.MAC Src. MAC 08 00 Payload CRC 32 bit EtherT. 6 B 6 B 2 B 46 – 1,500 B 4 B SW1 ติด VLAN Tag เพื่อส่งไปยังเครื่อง B ใน VLAN เดียวกัน ผ่าน Trunk Port --> SW2 Dst.MAC Src. MAC 81 00 VLAN 10 Tagged 08 00 Payload CRC 32 bit EtherT. EtherT. 6 B 6 B 2 B 2 B 2 B 46 – 1,500 B 4 B 6-5

  7. SW3 SW2 Trunk Port SW1 Access Port • พอร์ท Access • เชื่อมต่อ: Switch กับเครื่องโฮส • ชนิดเฟรม: เฟรมข้อมูลธรรมดา • EtherType: ขึ้นกับ Payload เช่น 0x0800 • พอร์ท Trunk • เชื่อมต่อ: Switch ด้วยกัน หรืออุปกรณ์ที่อ่าน VLAN Tag ได้ • ชนิดเฟรม: เฟรมติดฉลาก (Tagged) เลข VLAN • EtherType: 0x8100 แล้วตามด้วย Tag อีก 2 ไบต์ (โปรโตคอล 802.1Q)+ EtherTypeของ Payload ต่อ SW1 VLAN 10 VLAN 20 VLAN 30 6-6

  8. SW3 SW2 Trunk Port SW1 • เป็น VLAN เลขที่ตกลงกันกับพอร์ท Trunk ทั้งสองฝั่งว่า ไม่ต้องติด VLAN Tag • มักใช้กับการส่งเฟรมที่ใช้บริหารจัดการเครือข่าย • ใช้เป็นหลักในการรักษาความปลอดภัยว่า ควรเปลี่ยนค่าเลข VLAN ที่เป็น Native จากเลขดีฟอลท์(VLAN 1) เป็น VLAN อื่น 6-7

  9. คอยเจรจาให้พอร์ทสวิตช์ฝั่งตรงข้ามตั้งค่าเป็น Trunk Port ด้วย เพื่อความสะดวกในการตั้งค่า (ไม่ต้องไปเสียเวลาตั้งค่าบนสวิตช์ฝั่งตรงข้ามเพิ่มอีก) • โดยกำหนดสถานะ DTP ของพอร์ทสวิตช์ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ • กลุ่มสถานะตายตัว เกิดจากการตั้งค่าบังคับพอร์ทนั้นให้เป็น Trunk หรือ Access • สถานะ on: ตั้งค่าพอร์ทนั้นเป็น Trunk เอง • สถานะ off: ตั้งค่าพอร์ทนั้นเป็น Access เอง • กลุ่มสถานะที่เปลี่ยนได้ (Dynamic) เป็นสถานะที่รอการเจรจาจากพอร์ทฝั่งตรงข้าม • สถานะ auto(ค่าดีฟอลท์): เตรียมตัวจะเป็น Trunk เมื่อฝั่งตรงข้ามตั้งค่าเป็นพอร์ท Trunk (on) ขึ้นมา • สถานะ desirable: คือนอกจากจะกลายเป็น Trunk เมื่อฝั่งตรงข้าม on แล้ว ยังกลายเป็น Trunk พร้อมกันกับฝั่งตรงข้ามได้อีก ถ้าฝั่งตรงข้ามตั้งโหมดเป็น desirable เหมือนกัน หรือเป็นโหมด auto 6-8

  10. Trunk Access On auto auto auto (Trunk) (Default) (Default) (Default) Access Trunk Off auto (Access) Access Desirable auto (Default) Trunk Off Desirable (Access) Desirable Desirable 6-9

  11. DTP จะเจรจาได้ สวิตช์ทั้งสอง “ต้องอยู่บน VTP Domain เดียวกันเท่านั้น” • เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาคนละ VTP Domain จะต้องสร้าง Trunk แบบ Manual (ตั้งค่า Nonegotiate) • ตามหลักความปลอดภัย ต้องปิด DTP บนพอร์ตที่ไม่ต้องการให้สร้าง Trunk ภายหลัง (ด้วยการสั่ง Nonegotiateเช่นกัน) เพื่อป้องกันการโจมตีแบบ VLAN Hopping 6-10

More Related