180 likes | 311 Views
การดำรงตนและปฏิบัติตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. โดย...นายชูเกียรติ มุทธากาญจน์ อธิการวิทยาลัยการปกครอง. บริบทการเปลี่ยนแปลงของโลก และสภาวะประเทศไทย. ศตวรรษแห่งเอเชีย การเคลื่อนย้ายอย่าง เสรีของสินค้า เงินทุน. เทคโนโลยี. ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก. สังคม. ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม.
E N D
การดำรงตนและปฏิบัติตามแนวทางการดำรงตนและปฏิบัติตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย...นายชูเกียรติ มุทธากาญจน์ อธิการวิทยาลัยการปกครอง
บริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลก และสภาวะประเทศไทย
ศตวรรษแห่งเอเชีย การเคลื่อนย้ายอย่าง เสรีของสินค้า เงินทุน เทคโนโลยี ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี • ยกระดับมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันฐานทรัพยากร รักษาความสมดุลของระบบนิเวศน์ • ปรับรูปแบบการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและพัฒนาพลังงานทางเลือก ภาวะโลกร้อน ภัยพิบัติ ระบบนิเวศน์ และความหลากหลายทางชีวภาพ เคลื่อนย้ายแรงงานมีความรู้/ผู้ประกอบการมากขึ้น • มาตรการกำกับดูแลการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น • เตรียมมาตรการรองรับการเคลื่อนย้ายคนอย่างเสรีที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการปรับตัวของประเทศ • ดำเนินนโยบายการค้าเชิงรุก • ธุรกิจต้องปรับตัวแข่งขันได้ • ยกระดับการกำกับดูแลการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศและบริหารจัดการตลาดการเงิน • สร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ • สร้างโอกาสการเรียนรู้ให้คนไทยปรับตัวรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง • ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับจุดแข็งด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เศรษฐกิจและสังคมฐานความรู้ • โอกาสการขยายตลาดสินค้าและบริการเพื่อสุขภาพ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ • ป้องกันความเสี่ยงและแก้ไขการแพร่ขยายของวัฒนธรรมต่างชาติที่ก่อให้เกิดค่านิยมและการบริโภค ที่ไม่พึงประสงค์ สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาการออม การเปลี่ยน แปลงรูปแบบการบริโภค
สภาวะทางเศรษฐกิจ • วิกฤตการณ์สถาบันการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนกันยายน 2551 ได้ส่งผลเชื่อมโยงถึงระบบการเงินของประเทศต่าง ๆ ในโลก โดยขณะนี้เศรษฐกิจของประเทศพัฒนา เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และอีกหลายประเทศในยุโรป เข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอย และอุตสาหกรรมสำคัญ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น • ปี 2545 - 2547 เศรษฐกิจไทยผ่านช่วงที่มีการขยายตัวในอัตราสูง และเริ่มเข้าสู่ภาวะของการชะลอ ตัวมาตั้งแต่ปี 2548 ทั้งนี้ปี 2545 - 2547 เศรษฐกิจไทยเจริญเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ต่อปี ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่การใช้จ่ายและการลงทุนภาคเอกชนเพิ่มขึ้นสูงร้อยละ 5.6 และ 15.8 ตามลำดับ • เศรษฐกิจไทยได้เข้าสู่ภาวะชะลอตัวลงในช่วงครึ่งหลังของปี 2549 และชะลอตัวต่อเนื่องในปี 2550 จากที่ขยายตัวได้ร้อยละ 6.3 และ 5.3 ในสองไตรมาสแรกของปี 2549 มาเป็นการขยายตัวร้อยละ 4.5 และ 4.3 ในสองไตรมาสหลังของปี • ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในปี 2551 ขยายตัวในเกณฑ์ดีแม้จะชะลอตัวลงในครึ่งหลังของปี ในช่วง 9 เดือนแรกของปี เศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ร้อยละ 5.1 โดยเป็นการขยายตัวร้อยละ 6.0 และ 4.0 ในไตรมาสแรกถึงไตรมาสที่สามตามลำดับ
สภาวะสังคมและสิ่งแวดล้อมสภาวะสังคมและสิ่งแวดล้อม • คนไทยยังมีการศึกษาโดยเฉลี่ยประมาณ 9 ปี น้อยกว่าประเทศในแถบเอเชียซึ่งมีการศึกษาเฉลี่ยประมาณ 10 ถึง 12 ปี • คุณภาพของการศึกษายังมีปัญหาส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนต่ำกว่ามาตรฐานในวิชาสำคัญ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ • คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แต่ก็มีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานและหัวใจ ซึ่งโรคเหล่านี้รักษาให้หายได้ยากและมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง • ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและยาเสพติดยังคงเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย • ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งในเมืองและชนบทยังคงทวีความรุนแรงขึ้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของคนไทยและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
สภาวะทางการเมืองและความมั่นคงสภาวะทางการเมืองและความมั่นคง • ภายในประเทศ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จนถึงเดือนกันยายน 2551 (รวม 57 เดือน) มีเหตุเกิดขึ้นทั้งหมด 7,936 ครั้ง สาเหตุของปัญหามาจากเงือนไขภายในประเทศเป็นหลัก • ระดับภูมิภาคและประเทศเพื่อนบ้าน ปัญหาในภูมิภาคตะวันออกกลางยังคงมีปัญหาความขัดแย้งที่จำกัดขอบเขตได้ ทั้งปัญหาระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์และชาติอาหรับ ปัญหาอิรัก ปัญหาเกาหลีเหนือ กรณีที่สหรัฐอเมริกาขอให้หยุดโรงงานนิวเคลียร์ ประเทศเพื่อนบ้านของไทย ในภาพรวมยังได้รับอิทธิพลจากสหรัฐฯ จีน และอินเดียมากขึ้นทำให้ทุกประเทศต้องปรับตัวทางด้านนโยบายต่างประเทศอย่างสมดุลและผนึกกำลังในกรอบของอาเซียนมากขึ้น พม่า การอพยพเข้ามาหางานทำในประเทศไทย โดยการอพยพเข้ามาเป็นครอบครัวเพิ่มสูงขึ้น • ระดับโลก เศรษฐกิจโลกได้เข้าสู่ภาวะวิกฤตที่มีความรุนแรงมากที่สุดในรอบศตวรรษ ประเด็นที่มีความสำคัญในระดับโลกในระยะ 3 ปีข้างหน้า ได้แก่ การแข่งขันในทางเศรษฐกิจ การใช้กำลังอำนาจทางทหารของมหาอำนาจเป็นเครื่องมือในการขยายกำลังอำนาจด้านเศรษฐกิจ
สภาวะการพัฒนาพื้นที่และภาคสภาวะการพัฒนาพื้นที่และภาค • เศรษฐกิจในทุกภาคมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ภาคกลาง และ กทม. ยังคงเป็นฐานเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ และมีบทบาทต่อเศรษฐกิจส่วนรวมเพิ่มมากขึ้น • สัดส่วนคนจนลดลงเกือบทุกภาค โดยคนจนส่วนใหญ่ยังคงกระจุกตัวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้ยังคงอยู่ในระดับสูง • ทุกภาคส่วนมีแนวโน้มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ภาคเหนือกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มตัวเร็วกว่าประเทศและภูมิภาคอื่นถึง 10 ปี • การเปลี่ยนแปลงของความเป็นเมืองและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพความเป็นเมืองสูงขึ้น พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก เผชิญกับข้อจำกัด เช่น ปัญหามลพิษ ปัญหาการขาดแคลนน้ำ ความขัดแย้งการใช้ประโยชน์ที่ดิน • การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น กระบวนการกระจายอำนาจค่อนข้างช้าและมีอุปสรรค์ที่ต้องแก้ไข เช่น การถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาและการสาธารณสุข การพัฒนารายได้ของ อปท. การสร้างระบบธรรมภิบาล และการสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารและกำกับดูแลการทำงานของ อปท.
นโยบาย ยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยในบริบทเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ แนวคิด ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี คุณธรรม ความเพียร ความรอบรู้ เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ เชื่อมโยงวิถีชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/การเมือง สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เป้า ประสงค์
หลักการ ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ได้แก่ • ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียง ซึ่งจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยมีการพิจารณาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ พอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคอยู่ในระดับพอประมาณ • การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยความรู้เน้นเกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบ และความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม • มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
จากการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้เทคโนโลยี แนวทางปฏิบัติ /ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ค น กระบวนทรรศน์การพัฒนาที่ปรับเปลี่ยน...สู่ความพอเพียง ยึดคนเป็นตัวตั้ง ประชาชนได้รับประโยชน์ มีความอยู่ดีมีสุข สู่ คนเป็นศูนย์กลาง ความอยู่ดีมีสุข ปรับจากมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ ผลประโยชน์ประชาชน ยึดหลัก “ภูมิสังคม” ตามความแตกต่างหลากหลายของ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ กับวิถีชีวิตชุมชน ภูมิ- ปรับวิธีคิด แบบแยกส่วน รายสาขา สู่องค์รวม บูรณาการ เชื่อมโยงทุกมิติ สังคม การมีส่วนร่วมของประชาชน ปรับกระบวน การพัฒนา จากบนลงล่าง เริ่มพัฒนา “ตามลำดับขั้น” ด้วยการพึ่งพาตนเอง-รวมกลุ่ม- สร้างเครือข่าย-เชื่อมสู่ภายนอก “ระเบิดจากข้างใน” สู่ กระบวน การพัฒนา จากล่างขึ้นบน การอยู่ร่วมกันด้วยสันติสุขระหว่างคนกับคน ระหว่างคนกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ทุน ทรัพยากรฯ ทุนเศรษฐกิจ ทุน สังคม ครอบครัว ชุมชน สถาบัน ประเทศ บุคคล การวิเคราะห์เสริมสร้างทุนประเทศสู่ความยั่งยืน • การศึกษา • สุขภาวะ • วัฒนธรรม มุ่งนำทุนที่มีอยู่ในสังคมไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และเสริมสร้างให้เข้มแข็งสร้างภูมิคุ้มกัน • การออม/หนี้สิน • การขยายตัวทางเศรษฐกิจ • เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ป่าไม้ / ดิน / น้ำ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม วางแนวทางเสริมสร้างทุนจาก
การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับบริบทการพัฒนาประเทศ ความรอบรู้ คุณธรรม ความเพียร คนเป็นศูนย์กลาง บนพื้นฐานดุลยภาพเชิงพลวัตร พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน คน สังคม การพัฒนาคุณภาพคน สังคมแห่งศีลธรรม ฐานความรู้ ดุลยภาพจิตใจ-วัตถุ พึ่งพาตนเอง ปรับตัวรู้เท่า ทันโลก สร้างภูมิคุ้มกัน แก่ครอบครัวชุมชน สังคม ประเทศ“สังคมอยู่เย็น เป็นสุขร่วมกัน” การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงสู่ภายนอก ชนบท-เมือง ชุมชน ดุลยภาพภายใน จัดการความเสี่ยง/ ภูมิคุ้มกัน การพัฒนาเศรษฐกิจไทยบนฐานการผลิตที่แข็งแกร่งด้วยองค์ความรู้ สร้างคุณค่าเพิ่ม เศรษฐกิจ ดุลยภาพภายใน- โลกาภิวัตน์ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพ สวล. อนุรักษ์-ใช้ประโยชน์ ทรัพยากรฯ ดุลยภาพภายใน แข่งขัน-กระจายประโยชน์ อย่างเป็นธรรม การเสริมสร้างระบบและวัฒนธรรม ธรรมาภิบาล และประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ อย่างเป็นธรรม
ทิศทางการพัฒนาประเทศ ตามกระบวนทรรศน์ใหม่ แผนฯ 10 เน้นการปฏิบัติตามาปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดกระบวนทรรศน์การพัฒนาแบบบูรณาการ องค์รวม มีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาต่อเนื่อง จากแผนฯ 8 และแผนฯ 9 มุ่งสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพเป็นธรรม สิ่งแวดล้อม มีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืนอยู่ภายใต้ระบบบริหาร จัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซึ่งระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภาคีทุกภาคส่วน มีส่วนร่วม ทุกขั้นตอน
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน เทคโนโลยี 5 บริบท ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา สรุปแผนฯ 10 พ.ศ.2550-2554 บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาประเทศ 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยฯ พันธกิจ • พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ คุณธรรม รอบรู้เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ • เสริมสร้างเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพและเป็นธรรม • ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพสร้างความมั่นคงทางฐานทรัพยากรคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน ประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมาและวิเคราะห์แนวโน้มสภาวะประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล. • พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศ ให้เกิดธรรมาภิบาล สถานะของประเทศ เป้าหมาย ด้านสังคม : คุณภาพการศึกษา หลักประกันสุขภาพทั่วถึง คุณธรรม-จริยธรรมลดลง เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์การเสริมสร้าง ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ • ด้านคุณภาพคน ความเข้มแข็งชุมชนและสังคม • ด้านเศรษฐกิจ • ด้านความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม • ด้านธรรมาภิบาล ด้านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจโตต่อเนื่อง ฐานการผลิตหลากหลาย พึ่งพาการนำเข้าสูง คนจนลดลง ด้านสิ่งแวดล้อม : ความอุดมสมบูรณ์ระบบนิเวศน์เริ่มเสียสมดุล คุณภาพสิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม บทบาทภาคี ด้านธรรมาภิบาล : ภาคราชการปรับตัวทันสมัยมีประสิทธิภาพ มีการกระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น ภาครัฐ/ภาคการเมือง/ภาคเอกชน/สถาบัน/สื่อภาคชุมชนและประชาชน
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับแผนฯ 10 และแผนปฏิบัติการระดับต่างๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (แผนฯ 10) นโยบายรัฐบาล กรอบทิศทางการบริหารราชการแผ่นดิน จุดร่วม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรอบทิศทาง หลักการของนโยบายรัฐบาล วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก เป้าประสงค์ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” ยุทธศาสตร์การพัฒนา (วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทางการพัฒนา) รายละเอียดแนวทางมาตรการ และแผนงานสำคัญๆ ความสอดคล้อง ตอบสนองวัตถุประสงค์ เป้าหมาย มิติ ระเบียบวาระพิเศษ วาระแห่งชาติในเรื่องสำคัญ ๆ แผนบริหารราชการแผ่นดิน มิติพื้นที่ • จังหวัด แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • กลุ่มจังหวัด บูรณาการ • ท้องถิ่น แผนปฏิบัติราชการประจำปี • ชุมชน