1 / 37

โดย ดร . ชานนท์ จันทรา

แนวโน้มคณิตศาสตร์ศึกษา. จากอดีตสู่ปัจจุบัน. โดย ดร . ชานนท์ จันทรา. ความเป็นมาหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศไทย. สมัยสุโขทัย. ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน แต่ศึกษาจากศิลาจารึก. มีการใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน. สถานศึกษา : วัดและสำนักราชบัณฑิต. สมัยสุโขทัย.

Download Presentation

โดย ดร . ชานนท์ จันทรา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มคณิตศาสตร์ศึกษาแนวโน้มคณิตศาสตร์ศึกษา จากอดีตสู่ปัจจุบัน โดยดร. ชานนท์ จันทรา

  2. ความเป็นมาหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศไทยความเป็นมาหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศไทย สมัยสุโขทัย • ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน แต่ศึกษาจากศิลาจารึก • มีการใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน • สถานศึกษา : วัดและสำนักราชบัณฑิต

  3. สมัยสุโขทัย • ลักษณะการสอน : ครูเป็นผู้บอก / เล่าปากต่อปากในครอบครัวและเพื่อนบ้าน • ตัวเลขที่ใช้มี 6 ตัว คือ ๑ ๒ ๔ ๕ ๗ 0 • ใช้ความรู้เกี่ยวกับเลขคณิตและเรขาคณิตในงาน :ดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ การสร้างพระพุทธรูป

  4. สมัยกรุงศรีอยุธยา (สมเด็จพระนารายณ์มหาราช) • ยุคที่การศึกษาของไทยเจริญรุ่งเรืองมากยุคหนึ่ง • ยังไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์ • มีการสอนคณิตศาสตร์ทั้งในวัดและนอกวัด • เนื้อหาที่สอน : เลขคณิต พีชคณิต เรขาคณิต การคิดคำนวณโดยใช้ตัวเลขไทยและฮินดูอารบิก

  5. สมัยกรุงธนบุรี - ร. 4 • (กรุงธนบุรี) การจัดการศึกษามีลักษณะเช่นเดียวกับสมัยอยุธยา • (ร.2) “โรงทาน” เป็นสถานศึกษาสำคัญจัดให้มี การเรียนเลขเบื้องต้นตามแบบเก่า (บวก ลบ คูณ หาร มาตราต่าง ๆ โจทย์ปัญหา)

  6. สมัยกรุงธนบุรี - ร. 4 • (ร.3) มีการพิมพ์หนังสือภาษาไทยและตำราเลขขึ้น • (ร.4) ทรงศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ จากหมอสอนศาสนา และทรงนำไปใช้คำนวณทางดาราศาสตร์

  7. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 • การจัดการศึกษาเริ่มมีแบบแผน มีการสร้าง โรงเรียนมากขึ้น • พ.ศ. 2428 ได้บรรจุวิชาเลขให้อยู่ในหลักสูตรการสอบไล่เป็นครั้งแรก

  8. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 • พ.ศ. 2438 ประกาศใช้แผนการศึกษาฉบับแรกขึ้น (ครั้งแรกของการมีหลักสูตรคณิตศาสตร์) • ประโยคที่ 1: เลขคณิต (บวก ลบ คูณ หารสั้น สูตรคูณ มาตราเงิน บาท สลึง เฟื้อง อัฐ)

  9. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 • ประโยคที่ 2: เลขคณิตและเรขาคณิต (บวก ลบ คูณ หาร มาตราเงินสยาม น้ำหนัก การวัด ทำบัญชี ห.ร.ม. ค.ร.น. เศษส่วน ทศนิยม บัญญัติไตรยางศ์ ดอกเบี้ย ร้อยละ รูปสี่เหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปสามเหลี่ยม รูปวงกลม)

  10. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 • ประโยคที่ 3: เลขคณิต พีชคณิต และเรขาคณิต (บัญชี กำไร ขาดทุน ร้อยละ เงิน กรณฑ์ รังวัด พื้นที่ต่าง ๆ สมการ แฟกเตอร์ ห.ร.ม. ค.ร.น. ลอการิทึม เรขาคณิต (โคมาตร: ยุคลิด))

  11. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 • พ.ศ. 2445 ประกาศใช้แผนการศึกษาฉบับใหม่ โดยปรับปรุงหลักสูตรคณิตศาสตร์ให้มีความทันสมัยขึ้นเล็กน้อย เช่น เงินเหรียญดอลลาร์

  12. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 • พ.ศ. 2452 ประกาศใช้แผนการศึกษาฉบับใหม่ และกำหนดหลักสูตรมูลศึกษาขึ้น โดยนำเนื้อหาส่วนใหญ่ของหลักสูตรเลขคณิตในประโยคประถมศึกษาลงไปบรรจุไว้ใน ประโยคมูลศึกษา

  13. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 สรุป • หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์มีระบบแบบแผน • มีการระบุเนื้อหาคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษามัธยมศึกษาและจัดเป็นหมวดหมู่

  14. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : รัชกาลที่ 5 สรุป : ระดับมัธยมศึกษา • แบบเรียนกำหนดหลักสูตร • มุ่งฝึกทักษะและการคิดอย่างมีเหตุผลเป็นสำคัญ • การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ได้รับอิทธิพลจากประเทศอังกฤษ

  15. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : หลังรัชกาลที่ 5 • พ.ศ. 2456 • ไม่มีชั้นมูลศึกษา มีแต่ชั้นประถม-มัธยมศึกษา (ม.ต้น-กลาง-ปลาย ) • ม. ต้น-กลาง : ใช้หลักสูตรปี พ.ศ. 2452 ของประโยคประถมและประโยคมัธยมผสมผสานกัน • ม. ปลายให้ใช้หลักสูตรมัธยมสูงเดิมและเพิ่มเติมในเรื่องยีออเมตริ

  16. ร.5 - ก่อน พ.ศ. 2503 : หลังรัชกาลที่ 5 • พ.ศ. 2493 • กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ม. ต้น - ม. ปลายให้เหมาะสมกับกาลสมัย • หลักสูตร ม. ต้น (ม. 1 - 3) : เลขคณิต เรขาคณิตปฏิบัติ • หลักสูตร ม. ปลาย (ม. 4 - 6) : เลขคณิต พีชคณิตและเรขาคณิต

  17. พ.ศ. 2503 • แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503 • อนุบาล / ประถมศึกษา (4 : 3) / มัธยมศึกษา(3 : 3) / อุดมศึกษา • ศธ. ประกาศใช้หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนต้น/ปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น/ปลาย พ.ศ. 2503 รวม 4 ฉบับ เริ่มใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2504

  18. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ในระดับ ป.ต้น (ป. 1 - 4) : จำนวน ตัวเลข การบวก ลบ คูณ หาร โจทย์ปัญหา การเปรียบเทียบความยาว ความสูง ความลึก ความหนา น้ำหนัก เวลา การชั่ง ตวง วัด บัญญัติไตรยางศ์ การแลกเงินตราต่างประเทศ มาตราชั่ง ตวง วัด ระบบอังกฤษ และระบบเมตริก ร้อยละ บัญชีรับ-จ่าย

  19. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ในระดับ ป.ปลาย (ป. 5 - 7) : (เลขคณิต + เรขาคณิต) จำนวน การบวก ลบ คูณ หาร โจทย์ปัญหา ตัวประกอบ ห.ร.ม. ค.ร.น. เศษส่วน ทศนิยม ร้อยละ กำไร ขาดทุน ดอกเบี้ยชั้นเดียว บัญญัติไตรยางศ์ เส้นตรง เส้นโค้ง มุม เส้นขนาน วงกลม รูปเหลี่ยมต่าง ๆ และการหาพื้นที่ ...

  20. พ.ศ. 2503 • หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ. 1 - 3) • สายสามัญ - สายอาชีพ • สายสามัญ 5 ช.ม./สัปดาห์ (3 + (2)) • สายอาชีพ 3 ช.ม./สัปดาห์ (3) • เลขคณิต + พีชคณิต (ทั้ง 2 สายสัปดาห์ละ 3 ช.ม.) / เรขาคณิต (เฉพาะสายสามัญ สัปดาห์ละ 2 ช.ม.)

  21. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาวิชาเลขคณิต+พีชคณิต : เศษส่วน ทศนิยม รูปทรง การหาพื้นที่รูปเหลี่ยมต่าง ๆ ปริมาตร อัตราส่วน สมุดสนาม สัดส่วน สมการชั้นเดียวและหลายชั้น กำไร ร้อยละ ขาดทุน กราฟสถิติ ภาษีเงินได้ ประกันภัย …. • เนื้อหาวิชาเรขาคณิต : ประวัติย่อ นิยามต่าง ๆ ทฤษฎีบท บทสร้างเกี่ยวกับเส้นตรง มุม รูปสามเหลี่ยม วงกลม เส้นขนาน ทฤษฎีว่าด้วยรูปสามเหลี่ยม 2 รูป ...

  22. พ.ศ. 2503 • หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ. 4 - 6) • สายสามัญ (แผนกวิทยาศาสตร์/ศิลปะ/ทั่วไป) - สายอาชีพ • คณิตศาสตร์ ก (วิชาบังคับทั้ง 2 สาย: 2 ช.ม./สัปดาห์) • คณิตศาสตร์ ข (วิชาบังคับแผนกวิทย์ / วิชาเลือกแผนกศิลปะและทั่วไป : 4 ช.ม./สัปดาห์)

  23. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาคณิตศาสตร์ ก • พีชคณิต : การแก้สมการ 1 - 3 ตัวแปร เลขดัชนี ลอการิทึม การแปรผัน ตั๋วเงิน • ตรีโกณมิติ : ฟังก์ชันของมุม 30o,45o,60o การพิสูจน์ เอกลักษณ์ กราฟของฟังก์ไซน์ โคไซน์ และแทนเจนต์ของมุม 0o - 360o ...

  24. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาคณิตศาสตร์ ก • สถิติ : การแจกแจงความถี่ของข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ความแปรปรวน ...

  25. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาคณิตศาสตร์ ข • พีชคณิต : การแก้สมการกำลังสอง กราฟของวงกลม การแยกตัวประกอบ ฟังก์ชัน อนุกรม ... • ตรีโกณมิติ : ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ วิธีพิสูจน์สูตร การแก้สมการหาค่าของมุม ฟังก์ชัน ผกผัน ฟังก์ชันของมุมประกอบ ...

  26. พ.ศ. 2503 • เนื้อหาคณิตศาสตร์ ข • เรขาคณิต : ทฤษฎีว่าด้วยจัตุรัส จัตุรัสบนเส้น มัธยฐาน เส้นแบ่งครึ่งมุมภายในและมุมภายนอก ของรูปสามเหลี่ยม บทสร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว การสร้างวงกลม ...

  27. หลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) • มีจุดมุ่งหมายของหลักสูตรคล้ายคลึงกัน • เนื้อหาคณิตศาสตร์ชั้น ป. 1 - 2 เน้นการเตรียมความพร้อมของนักเรียน : จำนวนนับ เศษส่วน การวัดความยาว การชั่ง ตวง เวลา เงิน เรขาคณิต (รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก ทรงกลม)

  28. หลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) • เนื้อหาคณิตศาสตร์ชั้น ป. 3 - 4 : จำนวนนับที่เกิน 1,000 เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน 2 ตำแหน่ง การวัดความยาว การชั่ง ตวง เวลา เงิน เรขาคณิต (เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง มุม เส้นขนาน รูปเรขาคณิต และรูปทรงเรขาคณิต …) แผนภูมิ การเฉลี่ย ร้อยละ

  29. หลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) • เนื้อหาคณิตศาสตร์ชั้น ป. 5 - 6 : จำนวนนับที่มีหลายหลักและการประมาณค่า การบวก ลบ คูณ หารจำนวน สมบัติการบวกและการคูณ การแยกตัวประกอบ ห.ร.ม. ค.ร.น. เศษส่วน ทศนิยม เส้นตรงและมุม รูปเรขาคณิต การหาความยาว พื้นที่ ทิศและแผนผัง แผนภูมิและกราฟ สมการ ร้อยละ กำไรขาดทุน ดอกเบื้ย

  30. หลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533)

  31. บังคับแกน วิชา บังคับ บังคับเลือก กลุ่มวิชาภาษา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โครงสร้าง หลักสูตร วิชา เลือกเสรี กลุ่มวิชาสังคมศึกษา กลุ่มวิชาพัฒนาบุคลิกภาพ กลุ่มวิชาการงานและอาชีพ กิจกรรมตามระเบียบ ศธ. กิจกรรม กิจกรรมแนะแนว/พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมอิสระ

  32. วิชาบังคับ บังคับแกน เลือกเสรี • ชั้น ม. 1 • ค 101 คณิตศาสตร์ 1 • ค 102 คณิตศาสตร์ 2 • ชั้น ม. 2 • ค 203 คณิตศาสตร์ 3 • ค 204 คณิตศาสตร์ 4 • ค 011 คณิตศาสตร์ - ค 012 คณิตศาสตร์ • ค 021 คณิตศาสตร์ - ค 022 คณิตศาสตร์ • ค 031 เสริมทักษะคณิตศาสตร์ 1 • ค 032 เสริมทักษะคณิตศาสตร์ 2 • ค 033 เสริมทักษะคณิตศาสตร์ 3 • ค 034 เสริมทักษะคณิตศาสตร์ 4

  33. หลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533)

  34. โครงสร้างที่ 1 (เน้นคณิตศาสตร์ 5 คาบ/สัปดาห์/ภาค) วิชาเลือก • ค 011 คณิตศาสตร์ • ค 012 คณิตศาสตร์ • ค 013 คณิตศาสตร์ • ค 014 คณิตศาสตร์ • ค 015 คณิตศาสตร์ • ค 016 คณิตศาสตร์

  35. โครงสร้างที่ 1 (1 คาบ/สัปดาห์/ภาค) วิชาเพิ่มเติม • ค 024 คณิตศาสตร์ • ค 025 คณิตศาสตร์ • ค 026 คณิตศาสตร์ • ค 021 คณิตศาสตร์ • ค 022 คณิตศาสตร์ • ค 023 คณิตศาสตร์ • ค 031 คณิตศาสตร์*

  36. โครงสร้างที่ 2 วิชาเลือก (เรียนคณิตศาสตร์พอเป็นพื้นฐาน 3 คาบ/สัปดาห์/ภาค) • ค 041 คณิตศาสตร์ • ค 042 คณิตศาสตร์ • ค 043 คณิตศาสตร์ • ค 044 คณิตศาสตร์ • ค 045 คณิตศาสตร์ • ค 046 คณิตศาสตร์

  37. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ปัจจุบัน

More Related