140 likes | 201 Views
หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล. เรื่องสืบเนื่อง. การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ
E N D
หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
เรื่องสืบเนื่อง • การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ • “บุคลากรของส่วนราชการในฐานะผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหารโครงการ (จึง)จำเป็นต้องพัฒนาทักษะและความสามารถในการวางแผนและบริหารโครงการ ทั้งในมิติของการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Management)และมิติของการบริหารจัดการงบประมาณ (Strategic Performance Based Budgeting)เพื่อให้โครงการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตรงตามเจตนารมณ์ที่กำหนดไว้”
การวางแผนและบริหารโครงการการวางแผนและบริหารโครงการ 1. ทบทวน/ ตรวจสอบ/ ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ ที่ผ่านมา 2. ริเริ่ม โครงการใหม่ และการวิเคราะห์ เบื้องต้น 3. วิเคราะห์และ วางแผน รายละเอียด โครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรร งบประมาณ 5. ติดตาม ความก้าวหน้า ของการดำเนิน โครงการ 6. ประเมินผล การใช้งานและ ติดตาม ปรับปรุง/ แก้ไข
1. การทบทวนและตรวจสอบผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา • ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ 1.1 ความเบี่ยงเบนของคุณภาพงาน 1.2 ความเบี่ยงเบนของระยะเวลาดำเนินการ 1.3 ความเบี่ยงเบนของงบประมาณ • ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ • ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ทบทวน/ตรวจสอบปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข • พิจารณาตัดสินใจ
2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น • พิจารณาที่มาและความสำคัญของปัญหา 1.1 ความจำเป็น 1.2 ความเร่งด่วน • พิจารณาลักษณะของโครงการ 2.1 โครงการด้านกายภาพ 2.2 โครงการด้านบริการ 2.3 โครงการด้านการบริหารจัดการ • ระบุกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • พิจารณาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน • พิจารณาความถูกต้องทางจริยธรรมและความเป็นธรรมในสังคม • ระบุเป้าหมายผลผลิต คาดการณ์ผลลัพธ์หรือผลกระทบ
2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น(ต่อ) • พิจารณาผลกระทบต่อโครงการหรือกิจกรรมอื่นที่มีอยู่แล้ว • วิเคราะห์กระบวนการและแนวคิดของโครงการ โดยเฉพาะในเรื่องความสอดคล้องและผลกระทบในมิติเชิงยุทธศาสตร์ (พื้นที่ หน้าที่ วาระ) • วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต • ระบุทางเลือกอื่นและวิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี 10.1 หนทางที่เลือกเหมาะสมกว่าทางเลือกอื่นอย่างไร 10.2 เทคโนโลยีที่เลือกใช้ เครื่องมือและองค์ความรู้เหมาะสมต่อเวลา กระบวนการ วิธีการ
2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น(ต่อ) • วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการและวิธีการดำเนินงานเบื้องต้น • พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ • พิจารณาความพร้อมและความเพียงพอของทรัพยากรและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง • วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้าโครงการและทีมงาน 14.1 ความน่าเชื่อถือ 14.2 ความสามารถในการขับเคลื่อนงานอย่างมีประสิทธิผล 14.3 สามารถเข้าถึงได้ง่าย 14.4 ภาวะผู้นำ
3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ • พิจารณาขอบเขตของโครงการ 1.1 มิติเชิงปริมาณ 1.2 มิติเชิงพื้นที่ตั้งโครงการ 1.3 มิติเชิงพื้นที่ให้บริการ • วิเคราะห์รายละเอียดโครงสร้างผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบของโครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน • พิจารณากฎระเบียบข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ • วิเคราะห์/ทบทวนความคุ้มค่าของโครงการ ความน่าเชื่อถือของสมมุติฐาน และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4.1 ระบุและจำแนกต้นทุน 4.2 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของมูลค่าต้นทุนกับผลที่จะได้รับ 4.3 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของมูลค่าต้นทุนกับผลที่จะได้รับเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ(ต่อ) • ระบุทางเลือก วิเคราะห์เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.1 ต้นทุน –ต้นทุนของระบบ ต้นทุนการดำเนินการ ต้นทุนการบำรุงรักษา 5.2 การใช้งาน 5.3 ประสิทธิภาพ • วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต 6.1 ระบุกิจกรรมหลัก/ย่อยทั้งหมดในกระบวนการ 6.2 วิเคราะห์ระยะเวลากิจกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม 6.3 วิเคราะห์ระยะเวลาของโครงการ 6.4 วิเคราะห์วิธีการดำเนินกิจกรรม • วิเคราะห์รายละเอียด ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่
3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ(ต่อ) วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคคล ประมาณราคาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม วิเคราะห์ความเสี่ยงของการดำเนินงานและแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น*** วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวนเปรียบเทียบกับโครงการอื่นที่ใช้ผลผลิตและกิจกรรมในลักษณะเดียวกัน
4. การวิเคราะห์และจัดทำคำของบประมาณ • จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ 1.1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Desirability) 1.2 ความพร้อม/ความเป็นไปได้ (Feasibility) +ความจำเป็นเร่งด่วน +ความคุ้มค่า +ผลกระทบ • พิจารณาจัดทำคำของบประมาณ
5. การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ • จัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ 1.1 ควรกำหนดรูปแบบและความถี่ในการติดตาม 1.2 ความสอดคล้องของผลงานที่ได้ในช่วงเวลาต่างๆ (milestone) กับงบประมาณที่ใช้จ่าย • พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ • ทบทวน/ปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และระยะเวลาดำเนินงาน • สรุปผลการติดตามปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไขและบทเรียน
6. การประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ปรับปรุง/แก้ไข • ประเมินผลผลิตและกระบวนการบรหารจัดการผลผลิต 1.1 ประเมินผลผลิตที่ได้รับจากโครงการ (output evaluation) 1.2 ประเมินการบริหารจัดการผลผลิต (output utilization evaluation) • ประเมินผลลัพธ์และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 2.1 ประเมินผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ (outcome evaluation) 2.2 ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย (customers satisfaction evaluation) • ติดตามผลกระทบ/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ • สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไขและบทเรียน
การวางแผนและบริหารโครงการ: มุมมองต่อการจัดการเรียนการสอน 1. ทบทวน/ ตรวจสอบ/ ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ ที่ผ่านมา 2. ริเริ่ม โครงการใหม่ และการวิเคราะห์ เบื้องต้น 3. วิเคราะห์และ วางแผน รายละเอียด โครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรร งบประมาณ 5. ติดตาม ความก้าวหน้า ของการดำเนิน โครงการ 6. ประเมินผล การใช้งานและ ติดตาม ปรับปรุง/ แก้ไข ประเมินผลการ จัดการเรียนการ สอนในภาพรวม ที่ผ่านมาโดย QA กำหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์คณะ แผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์และ วางแผนใน รายละเอียด ของโครงการ บูรณาการกิจกรรม วิเคราะห์และ จัดสรร งบประมาณ ประจำปี อนุมัติโครงการ ติดตามข้อมูล ตัวชี้วัด/ ความก้าวหน้า โครงการ KPI/KQI ติดตามผลบัณฑิต/ ผู้ใช้บัณฑิต/ จำนวนบัณฑิต ฯลฯ QA-TQA