1 / 7

พระราชบัญญัติการโฆษณา

พระราชบัญญัติการโฆษณา. กฎหมายในกิจการโฆษณา มี 2 รูปแบบ. สัญญา. กรณีครบวงจร. บริษัทตัวแทนโฆษณา. (เจ้าของสินค้า / บริการ). กรณีที่เป็นแบบไม่ครบวงจร. สัญญา. บริษัทตัวแทนโฆษณา. ผู้ว่าจ้างโฆษณา. สัญญา. สัญญา. เจ้าของโฆษณา. ผู้รับจ้างสร้างภาพยนตร์. ผู้ผลิต / สิ่งโฆษณา.

yuli-avery
Download Presentation

พระราชบัญญัติการโฆษณา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติการโฆษณาพระราชบัญญัติการโฆษณา กฎหมายในกิจการโฆษณา มี 2 รูปแบบ สัญญา กรณีครบวงจร บริษัทตัวแทนโฆษณา (เจ้าของสินค้า / บริการ) กรณีที่เป็นแบบไม่ครบวงจร สัญญา บริษัทตัวแทนโฆษณา ผู้ว่าจ้างโฆษณา สัญญา สัญญา เจ้าของโฆษณา ผู้รับจ้างสร้างภาพยนตร์ ผู้ผลิต / สิ่งโฆษณา ผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์ ผู้รับจ้างทำการสำรวจวิจัยตลาด

  2. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจโฆษณากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจโฆษณา การลงทุน จ้างหน่วยธุรกิจอื่น ๆ ทำโฆษณา ระบุข้อตกลง กฎหมายว่าด้วยการอากร

  3. กฎหมายควบคุมการโฆษณาสินค้าและบริการกฎหมายควบคุมการโฆษณาสินค้าและบริการ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ทุกชนิด ก. พระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 ความจริงกฎหมายฉบับนี้ไม่สามารถควบคุมการโฆษณา แต่กำหนดให้เจ้าพนักงานการพิมพ์มีอำนาจในการตรวจสอบสิ่งพิมพ์ใดอาจจะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ก็อาจมีคำสั่งห้ามการขายหรือแจกจ่ายสิ่งพิมพ์นั้น บริการใดในสิ่งพิมพ์เข้าข่ายอาจจะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ข. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ให้อำนาจคณะกรรมการว่าด้วยโฆษณาพิจารณาสินค้า บริการทุกชนิดในสื่อโฆษณาทุกประเภทเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานอื่น การควบคุมโฆษณาในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 บทบาทอย่างมากในการทำธุรกิจโฆษณาในปัจจุบัน ค. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2520 (แก้ไขเพิ่มเติม 2527) พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2517 พระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ พ.ศ. 2510 กลุ่มกฎหมายเหล่านี้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการโฆษณาสินค้าที่เป็นอาหาร ยา เครื่องสำอาง วัตถุมีพิษ ซึ่งใช้สื่อโฆษณาทุกชนิดและหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมโฆษณา ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  4. สื่อภาพยนตร์ 1. ตรวจสอบภาพยนตร์ 1.1 เจ้าพนักงานผู้พิจารณาภาพยนตร์ซึ่งเป็นกรรมการขั้นตอน 1.2 กรรมการสภาพิจารณาภาพยนตร์ ซึ่งเป็นกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แนววิจัยของแผนกควบคุมภาพยนตร์

  5. คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเบ่งขั้นตอนการดำเนินการ เป็น 4 ระดับ 1. ตรวจ ติดตาม สอดส่อง และรับคำร้องเรียนเกี่ยวกับโฆษณา 2. พิจารณาโฆษณาที่อาจผิดกฎหมาย 3. วินิจฉัยและสืบหาข้อเท็จจริงโดยเชิญผู้โฆษณามาให้คำยืนยันหรือพิสูจน์ 4. หากพบว่าเป็นโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมาย พิจารณาสั่งการตามกฎหมายบัญญัติให้มีอำนาจไว้

  6. แผนผังการจัดองค์การและแผนผังการดำเนินงานในเรื่องการควบคุมการโฆษณาแผนผังการจัดองค์การและแผนผังการดำเนินงานในเรื่องการควบคุมการโฆษณา แผนการจัดองค์การ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค อนุกรมการตรวจ ติดตาม สอดส่อง รับคำร้องเรียน เกี่ยวกับโฆษณา คณะกรรมการ ว่าด้วยการโฆษณา อนุกรรมการวินิจฉัย

  7. แผนผังการดำเนินงาน สั่งการตามบทบัญญัติของกฎหมาย คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา โฆษณา อนุกรรมการสอดส่อง ฯ ฝ่าฝืนมีโทษอาญาจำคุก/ปรับ อนุกรรมการวินิจฉัย ยินยอให้เปรียบเทียบตามมาตรา 62 คดีอาญาเป็นอันเลอกัน

More Related