1 / 22

กลุ่ม 4 โรงพยาบาลเบอร์ 5

กลุ่ม 4 โรงพยาบาลเบอร์ 5. คุณภาพ มาตราฐานพลังงาน. กลุ่มเบอร์ 5. พ.จ. อ. ประกิจ บุญประภา ประธาน. คุณศศิธร มูลสวัสดิ์ เลขานุการ. คุณเอกชัย วานิชกูล รองประธานฝ่ายวิชาการ. คุณวราเวศ ศิลปพรหมมาศ รองประธานฝ่ายวิศวกรรม. คุณวรพจน์ ดาววงศ์ รองประธานฝ่ายสิ่งแวดล้อม.

yule
Download Presentation

กลุ่ม 4 โรงพยาบาลเบอร์ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่ม 4 โรงพยาบาลเบอร์5 คุณภาพ มาตราฐานพลังงาน

  2. กลุ่มเบอร์ 5 พ.จ. อ. ประกิจ บุญประภา ประธาน คุณศศิธร มูลสวัสดิ์ เลขานุการ คุณเอกชัย วานิชกูล รองประธานฝ่ายวิชาการ คุณวราเวศ ศิลปพรหมมาศ รองประธานฝ่ายวิศวกรรม คุณวรพจน์ ดาววงศ์ รองประธานฝ่ายสิ่งแวดล้อม คุณณัฐฐิญา จ่าราช รองฯฝ่ายประชาสัมพันธ์ คุณพรชัย บุตรดี กรรมการ คุณจิระศักดิ์ สันตะ กรรมการ คุณพนอ นุ่มศรี กรรมการ คุณยงยุทธ สวัสดีแจ้ง กรรมการ คุณสิริรัตน์ คุณสมบัติ ผู้ช่วยเลขานุการ

  3. นโยบาย โรงพยาบาล 1.ดำเนินการประหยัดพลังงานอย่างเหมาะสมเป้าหมายประหยัดพลังงานปี 2555 ต่ำกว่าปี 2554 ได้อย่างน้อย 10% และเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องถือปฏิบัติ 2.ใช้พลังงานทุกประเภทอย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม 3.ปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม 4.มีเจตจำนงค์ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงานและมีแนวทางการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 5มีเป้าหมายที่จะเป็นอาคารที่มีความเป็นเลิศทางด้านการประหยัดพลังงานแก่ภาครัฐและเอกชน

  4. แผนกจ่ายกลาง(CSSD แผนกวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (LAB)

  5. ผลการวิเคราะห์ และนำเสนอแนวตาม EMM

  6. แนวทางแก้ไขตาม EMM • มีการจัดทำนโยบาย ทีชัดเจน และจัดทำเป็นเอกสารและการถ่ายทอดนโยบาย ลงสู่พนักงานในหน่วยงาน ให้ทรายโดยทั่วกัน • สร้างตัวแทนด้านอนุรักษ์พลังงานในหน่วยงาน • จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อกระตุ้น และสร้างแรงจูงใจให้พนักงานทุกระดับ • การจัดทำระบบการจัดเก็บข้อมูล และสื่อสาร ผ่านตัวแทนด้านพลังงานในหน่วยงาน • จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ และข้อมูลข่าวสาร • มีการจัดสรรงบประมาณ และพิจารณาการลงทุน ในมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ที่เหมาะสม

  7. จุดที่พัฒนาได้

  8. แผนผังหน่วยจ่ายกลาง ทางเดิน ห้องเก็บของ ห้องเก็บของ ห้องเก็บปั๊มลม ห้องเครื่องอบนึ่งฆ่าเชื้อ ห้องอบฆ่าเชื้อ ห้องปลอดชั้อ ห้องล้างของติดเชื้อ ห้องเตรียมแพ็คของ

  9. แผนผังห้องปฏิบัติการ ทางเดิน ห้องเก็บของ ห้องพักจนท. ห้องทานข้าว น้ำตก Server ห้องปฏิบัติการ ห้องเก็บอุปกรณ์ บันได

  10. มาตราการและการคำนวนผลประหยัดมาตราการและการคำนวนผลประหยัด

  11. ผลสำรวจ เครื่องนึ่งอบฆ่าเชื้อเปิดให้บริการ 365 วัน 7 รอบต่อวัน 1เครื่อง พิกัดกำลังไฟฟ้า = 42 kWh/เครื่อง ระยะเวลานึ่ง = 45 นาที พิกัดกำลังไฟฟ้าต่อรอบ = 31.5 kW/รอบ ปริมาณการใช้น้ำ = 0.57 คิว/เครื่องรอบ ใช้พลังงานไฟฟ้า = (31.5 x7) = 220.5kwh/วัน ใช้น้ำ = 4คิว/วัน มาตรการ สร้างถังเก็บน้ำเพื่อนำน้ำร้อนที่ปล่อยทิ้งจากรอบแรกกลับมาใช้เพื่อประหยัดน้ำและพลังงานไฟฟ้า ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้าประหยัด = (31.5 x1)+(31.5x6x65%) = (220.5-154.35)= 66.15 kwh/วัน น้ำประหยัด = 4-1.5 = 2.5คิว/วัน/เครื่อง ประหยัดค่าไฟฟ้า = (66.15x365x3.5) = 84,507 บาท/ปี/เครื่อง ประหยัดค่าน้ำ = (2.5x365x13) = 11,862.5 บาท/ปี/เครื่อง

  12. มาตรการ สร้างถังเก็บน้ำเพื่อนำน้ำร้อนที่ปล่อยทิ้งจากรอบแรกกลับมาใช้เพื่อประหยัดน้ำและพลังงานไฟฟ้า รวมผลประหยัด จำนวนเครื่อง 2 เครื่อง = 96,369 x 2 = 192,738 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = (20,000/192,738) = 1 ปี 3 เดือน

  13. มาตราการและการคำนวนผลประหยัดมาตราการและการคำนวนผลประหยัด

  14. มาตราการและการคำนวนผลประหยัดมาตราการและการคำนวนผลประหยัด

  15. ผลสำรวจ เครื่องปรับอากาศขนาด 18,000 Btu/ช.ม. = 2 เครื่อง พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 6 kW/ชม. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 55 % เวลาทำงาน = 7 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี มาตรการ เปลี่ยนเป็นเครื่องปรับอากาศคุณภาพสูง ประสิทธิภาพสูง ปรับเวลาเปิดเครื่องปรับอากาศ เริ่ม 8:30-12:00 และเริ่มช่วงบ่าย 13:00-16:30 น.ตั้งอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = (6 x 7)x55% - (4 x 6)x98% x 365 = 18,934kWh/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.5 บาท/หน่วย ประหยัดค่าไฟฟ้า = 66,269 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 10 เดือน

  16. มาตราการและการคำนวนผลประหยัดมาตราการและการคำนวนผลประหยัด

  17. ผลสำรวจ เครื่องปรับอากาศขนาด 18,000 Btu/ช.ม. = 3 เครื่อง พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 9 kW/ชม. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 90 % เวลาทำงาน = 20 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี มาตรการ จัดโซนอุปกรณ์ที่แผ่รังสีความร้อนไว้ด้านนอก ตั้งอุณหภูมิที่ 20-25 องศาเซลเซียส ตลอด 24 ชม. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ((9 x 20 – (9 x 15)) x 365 x 0.90 = 14782.5kWh/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.5 บาท/หน่วย ประหยัดค่าไฟฟ้า = 51,738.75 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 7.5 เดือน

  18. มาตราการและการคำนวนผลประหยัดมาตราการและการคำนวนผลประหยัด

  19. ผลสำรวจ ตู้แช่แบบ 3 บาน = 1 เครื่อง พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 3 kW/ชม. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 90 % เวลาทำงาน = 20 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี มาตรการ เปลี่ยนขอบยาง ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ((3 x 20 – (3 x 15)) x 365 x 0.90 = 5,475kWh/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.5 บาท/หน่วย ประหยัดค่าไฟฟ้า = 19,162.50 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 1.8 เดือน

  20. แผนดำเนินการและแผนตรวจติดตามประจำปีแผนดำเนินการและแผนตรวจติดตามประจำปี

  21. ด้านประชาสัมพันธ์ แผนกจ่ายกลาง(CSSD) • จัดประกวดบอร์ด นวัตกรรมอนุรักษ์พลังงานจากทุกหน่วยงาน • ผู้บริหารทำเป็นตัวอย่าง • สร้างซุปตาร์อนุรักษ์พลังงาน แผนกวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (LAB)

  22. ท่านได้อะไรจาก การฝึกอบรมในครั้งนี้ ที่สามารถนำกลับไปใช้งานได้ทันที อย่างน้อย 5 มาตราการ • นวัตกรรมใหม่ ในการประยุกต์ใช้ เช่น การนำพัดลมคอลย์เย็นเครื่องปรับอากาศที่ไม่ใช้มาประยุกต์ใช้ • การจัดทำป้ายรณรงค์ตามจุดต่างๆ เพื่อให้ทุกคนทราบนโยบาย • รณรงค์การเดินขึ้น –ลง บันไดลดการใช้ลิฟท์ • การนำจอคอมพิวเตอร์ มาใช้เป็นกระถาง • การนำตัว Timer มาควบคุมการเปิด - ปิด เครื่องปรับอากาศ และใช้ sensor ติดไฟในจุดโถงทางเดิน

More Related