1 / 30

จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่

การพัฒนาระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัย และผลการดำเนินงานจังหวัด ปี 2557. จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

Download Presentation

จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัย และผลการดำเนินงานจังหวัด ปี 2557 จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  2. ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการปรับระบบอาหารทั่วโลกปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการปรับระบบอาหารทั่วโลก Global Food Trade: 1,375 billion dollars of exports of food in 2012 [WTO]-FAO Statistic Division, 2010 Public demand for health protection สภาพอากาศแปรปรวน ระบบค้าอาหารเสรี การเปิดประชาคมอาเซียน Focus onFood Safety & Public Health Healthy, Nutritious and Safety Food ระบบเกษตรพึ่งยา และสารเคมี สังคมชนบทเปลี่ยนเป็นสังคมเมือง การก่อการร้ายทางอาหาร ASEAN / APEC Food Safety and security อุบัติการณ์เกิดโรคจากอาหาร อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วง บิด ไทฟอยด์ อหิวาต์ Thailand Lead country FS-Implementation เตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โรคเรื้อรังจากอาหาร : มะเร็ง หัวใจ หลอดเลือด ความดัน Preparedness for food safety emergencies

  3. Feed Drugs (Nitrofurans, Anti-biotics) Catering/Restaurant/Street vender (GHP, Clean Food, Sanitation, Food safety, Restaurant standard) Fertilizer Pesticide Transport (Sanitation, Temperature, packaging) (GAP/Pesticide residue)) Production (HACCP/GMP/PrimaryGMP Retail–Packaged-Fresh Market (Healthy market, Sanitation, Food Safety) Storage (Sanitation, Temperature) Wholesale Store/ Market (Healthy market, Sanitation, Food Safety) Processing (HACCP/GMP/Primary GMP/GHP) Distribution (Sanitation, Temperature, packaging) วิเคราะห์จุดอ่อนและโอกาสเสี่ยงภัยในห่วงโซ่อาหารของไทย All Links Must Be Secure

  4. ที่มาและความสำคัญ • นโยบายกระทรวงและตัวชี้วัด • กฎอนามัยระหว่างประเทศ IHR 2005 ด้านอาหารปลอดภัย • หลักการและแนวทางระบบการควบคุมอาหารปลอดภัยระหว่างประเทศ (Codex : CCFFIC : CAC/GL 82-2013) 3

  5. สมรรถนะที่กำหนดในกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (National Core Capacity Requirements: Annex 1) กฎอนามัยระหว่างประเทศ/IHR (2005) 8 Core Capacities • Legislation and Policy • Coordination • Surveillance • Response • Preparedness • Risk Communications • Human Resources • Laboratory • Potential hazards • Infectious • Zoonosis • Food safety (สสอป) • Chemical • Radio nuclear การเฝ้าระวัง ตรวจจับ ตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่มีผลแพร่ระบาดระหว่างประเทศ (Events) ที่ ช่องทาง เข้า-ออกประเทศ (Points of Entry) IHR focal point (สำนักระบาดวิทยา)

  6. Major milestones for development and implementation of IHR (2005) (WHA 48) Adoption of IHR (2005) Submission of reservation/ rejection Development of core capacities Start of revision process IHR (1969) Entry into force Extension of dateline for core capacity development Exceptional extension of dateline (DG/WHO) Assessment of core capacities 95 16 05 06 07 09 12 14 WHA 58 Here we are!

  7. IHR (2005) – สมรรถนะหลักด้านอาหารปลอดภัย

  8. สมรรถนะตามกฎอนามัย, หลักการ CCFIC และเกณฑ์ระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัย 4

  9. สมรรถนะตามกฎอนามัย, หลักการ CCFIC และเกณฑ์ระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัย 5

  10. สมรรถนะตามกฎอนามัย, หลักการ CCFIC และเกณฑ์ระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัย อ้างอิง International Health Regulations Core Capacity Monitoring Framework : IHR 2005 Principle and Guidelines for National Food Control System : CCFFIC : CAC/GL, 82-2013 6

  11. Tools 10

  12. แนวทาง : 4 หัวข้อ 11

  13. เกณฑ์การประเมิน 12

  14. ประโยชน์ที่ได้รับ 25

  15. เกณฑ์การแบ่งระดับคะแนนเกณฑ์การแบ่งระดับคะแนน คะแนน 50 – 60 % พื้นฐาน คะแนน 61 – 70 % ดี คะแนน 71 – 80 % ดีมาก คะแนน 81 % ขึ้นไป อ้างอิงสากล 13 ** แต่ละจังหวัดจะต้องผ่านในระดับคะแนนรวมทุกหัวข้อร้อยละ 50 ขึ้นไป

  16. สรุปผลการประเมินระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัยสรุปผลการประเมินระบบคุณภาพงานอาหารปลอดภัย ภาคใต้ - ระดับอ้างอิง 57.14% - ระดับดีมาก 35.71% - ระดับดี 0% - ระดับพื้นฐาน 7.14% - ระดับควรปรับปรุง 0% ภาคเหนือ - ระดับอ้างอิง 52.94% - ระดับดีมาก 11.76% - ระดับดี 17.65% - ระดับพื้นฐาน 11.76% - ระดับควรปรับปรุง 5.88% กราฟแสดงสรุปผลการประเมิน ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ระดับอ้างอิง 60% - ระดับดีมาก 25% - ระดับดี 15% - ระดับพื้นฐาน 0% - ระดับควรปรับปรุง 0% ภาคตะวันออก ภาคกลาง - ระดับอ้างอิง 44.44% - ระดับดีมาก 16.67% - ระดับดี 22.22% - ระดับพื้นฐาน 16.67% - ระดับควรปรับปรุง 0% ภาคตะวันออก - ระดับอ้างอิง 42.86% - ระดับดีมาก 28.57% - ระดับดี 28.57% - ระดับพื้นฐาน 0% - ระดับควรปรับปรุง 0% 14 ** เมื่อมีองค์ความรู้และมีการพัฒนางานอาหารปลอดภัยจังหวัดแล้ว ทุกจังหวัดผ่านร้อยละ 100 ในระดับคะแนนรวมทุกหัวข้อร้อยละ 50

  17. ผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัยผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัย • ในการเฝ้าระวังความเสี่ยงตามบริบทของพื้นที่ด้านความปลอดภัยอาหาร ผลิตภัณฑ์ และน้ำ ณ แหล่งผลิต สถานประกอบการ สถานบริการ และสถานที่จำหน่าย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร จำนวน 100,905 ตัวอย่าง พบตัวอย่างไม่ปลอดภัยจำนวน 3,799 ตัวอย่าง (3.76 %) ***ส่วนมากตรวจพบยาฆ่าแมลงในตัวอย่างอาหารประเภทพืชผัก ผลไม้และผลิตภัณฑ์ • การรายงานข้อมูลการติดตามมาตรฐานสถานประกอบการและบริการอาหาร พบว่า • ผ่านเกณฑ์ HACCP จำนวน 7 แห่ง • ผ่านเกณฑ์ GMP 3,078 แห่ง • ผ่านเกณฑ์ Primary GMP 1,134 แห่ง • ซุปเปอร์มาเก็ต ผ่านเกณฑ์ GMP จำนวน 6 แห่ง ** จากผลการรายงานทั้งหมด 22 จังหวัด 15

  18. ผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัยผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัย การรายงานข้อมูลการติดตามมาตรฐานสถานประกอบการและบริการอาหาร รอบ 9 เดือน ในด้านเกณฑ์สุขาภิบาล กรมอนามัย 16

  19. ผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัยผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัย การเฝ้าระวังด้านความปลอดภัยอาหารจากการสุ่มตรวจสอบตัวอย่างอาหารในโรงเรียนและหน้าโรงเรียน 17

  20. กราฟแสดงร้อยละของอาหารสดที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (6 ชนิด) ระหว่างปี 2546-2555 18

  21. แนวโน้มการตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด 19

  22. ผลการตรวจยาฆ่าแมลงในอาหารสด แบ่งตามรายเขต ประจำปี 2555 ที่มา : สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย ปี 2555.

  23. ผลการเฝ้าระวังสารตกค้างในผักและผลไม้ ปี 2553 ppm Note: carbofuran in cabbage, yard long bean and sweet pepper were found less than 0.01 ppm Aldicarb in Pak choi, profenofos in broccoli and carbedazim in apple were found less than 0.01 ppm Cypermethrin and flucythrinate were found less than 0.02 ppm in orange Source : annual report 2010: Bureau of Quality and Safety of Food , DMSc

  24. ผลการเฝ้าระวังสารตกค้างในผัก ปี 2554 Note: Chlorpyrifos in Coriander was in the range 1.00-3.92 mg/kg Source : annual report 2010: Bureau of Quality and Safety of Food , DMSc

  25. ภาพการลงพื้นที่ พิษณุโลก พิจิตร เชียงราย มีนาคม อุบลราชธานี ลำปาง 26

  26. นครพนม อุดรธานี สุพรรณบุรี เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน นครราชสีมา นครปฐม 27

  27. ระนอง จันทบุรี กรกฎาคม สิงหาคม สระบุรี 28

  28. ข้อเสนอแนะ • นำหลักการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยอาหาร (Risk Assessment) ในห่วงโซ่อุปทานอาหาร และระบบคุณภาพขององค์กร • จัดอบรม ชี้แจง ทำความเข้าใจให้กับ สสจ. ในการใช้ แผนรับมือในภาวะฉุกเฉินความปลอดภัยอาหารของประเทศ (FSER) • คณะทำงานอาหารปลอดภัยของ สสจ. ควรทบทวนประเมินผลการปฏิบัติงานอาหารปลอดภัยทั้งหมดเพื่อวางแผนป้องกัน และแก้ไขปัญหาให้ตรงประเด็น 23

  29. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • ควรมีการสื่อสารความเสี่ยง กรณีเกิดการระบาดของโรคที่เกิดจากอาหาร และ ทำงานบูรณาการกันมากขึ้น • ควรจัดทำรายงานการประชุมทุกครั้ง และมีการเวียนให้ทราบกัน รวมทั้งจัดเก็บรายงานอย่างเป็นระบบ สามารถเรียกมาใช้ได้เพื่อพิจารณาทบทวนการทำงานที่ผ่านมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 24

  30. ทีมงานรวมใจ สร้างระบบคุณภาพอาหารปลอดภัย มุ่งไกลสู่สากล Food Safety Quality System meet to Global Standards ขอขอบคุณทุกจังหวัด 29

More Related