1.13k likes | 1.59k Views
การวิเคราะห์ทางเทคนิค ขั้นพื้นฐาน . การวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิค. เป็นการวิเคราะห์พฤติกรรมของหลักทรัพย์ โดยการหาช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อการซื้อหรือสัญญาณซื้อ (Buy Signal) และการหาช่วงเวลาที่น่าขายหรือสัญญาณขาย (Sell Signal)
E N D
การวิเคราะห์ทางเทคนิคการวิเคราะห์ทางเทคนิค ขั้นพื้นฐาน
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิคการวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิค เป็นการวิเคราะห์พฤติกรรมของหลักทรัพย์โดยการหาช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อการซื้อหรือสัญญาณซื้อ(Buy Signal)และการหาช่วงเวลาที่น่าขายหรือสัญญาณขาย(Sell Signal) โดยวิเคราะห์จากราคาหลักทรัพย์ปริมาณการซื้อขายและช่วงจังหวะเวลาโดยมิได้หาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้ราคาหลักทรัพย์เปลี่ยนแปลง
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิคการวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิค เป็นวิธีการศึกษาพฤติกรรมของหุ้น โดยอาศัยรูปกราฟราคาและปริมาณซื้อขายเพื่อคาดการณ์แนวโน้มราคาในอนาคต พฤติกรรมราคา และปริมาณหุ้นในอดีต พฤติกรรมราคา และปริมาณหุ้นในอนาคต ประวัติศาสตร์สามารถซ้ำรอยได้
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิคการวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิค ...ข้อสมมติฐาน... 1. พฤติกรรมของราคาหุ้นที่แสดงออกมานั้นได้ดูดซับเหตุการณ์ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นเอาไว้แล้ว (รวมทั้งข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน) ด้วย 2. ราคาหุ้นจะยังคงเคลื่อนไหวไปตามแนวโน้มเดิมจนกระทั่งแนวโน้มเดิมหมดลงจริง 3. รูปแบบหรือพฤติกรรมของหุ้นที่เกิดขึ้นในอดีตสามารถที่จะนำมาใช้ได้ในปัจจุบันและอนาคต
ความแตกต่างของการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและทางเทคนิคความแตกต่างของการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและทางเทคนิค มุ่งหาสาเหตุว่าอะไรที่เป็นแรงผลักดันต่ออุปสงค์และอุปทานของหุ้น ซึ่งไปกระทบต่อราคาและปริมาณหุ้น การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน มุ่งหาข้อสรุปของผลกระทบว่าอุปสงค์และอุปทานของหุ้นจะเปลี่ยนไปอย่างไร การวิเคราะห์ทางเทคนิค
ข้อแตกต่าง พื้นฐาน มองหา “มูลค่าที่แท้จริง” ของหลักทรัพย์นั้นๆ • มูลค่าที่แท้จริง “สูงกว่า” ราคาตลาด • มูลค่าที่แท้จริง “ต่ำกว่า” ราคาตลาด เทคนิค ดู Demand & Supplyของหลักทรัพย์นั้นๆ เป็นการหา “ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่จะเข้าซื้อ/ขาย” เป็นเรื่องของ “ Sentiment ”
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิคการวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิค การวิเคราะห์ทางเทคนิค ข้อมูลราคาและปริมาณหุ้นที่ซื้อขายในอดีต อุปสงค์ (demand) และ อุปทาน (supply) ของหุ้น ข้อมูลที่เกี่ยวกับปัจจัย พื้นฐาน การเคลื่อนไหว ของราคาหุ้น การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…??กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…??
กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…??กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…?? อ้างอิงจาก : การวิเคราะห์ทางเทคนิค (Technical Analysis)สุรชัย ไชยรังสินันท์
กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…??กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…?? Tick Chart
กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…??กราฟราคาถูกสร้างมาได้อย่างไร…?? Tick Chart Bar Chart Candlesticks Chart High High Close Close Open Open Low Low
Candlesticks กราฟแท่งเทียน High High Close Open Open Close Low Low
Candlesticks กราฟแท่งเทียน Demand = Supply เสมอกัน Demand > Supply ผู้ซื้อชนะ Supply > Demand ผู้ขายชนะ
Volume ปริมาณการซื้อขาย Volume คือ ปริมาณการซื้อขายของหุ้น แต่... Value คือ มูลค่าการซื้อขายของหุ้น ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคโดยปกติแล้วปริมาณการซื้อขายหุ้น เราจะให้ความสำคัญกับจำนวนหุ้นมากกว่ามูลค่าการซื้อขาย เนื่องจากเป็นจำนวนหุ้นจะมีความชัดเจนมากกว่ามูลค่าหุ้น เพราะเมื่อราคาหุ้นปรับตัวสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ มูลค่าการซื้อขายก็ย่อมสูงตาม ทำให้การตีความหมายผิดพลาด
Volume ปริมาณการซื้อขาย ราคาหุ้น (Price) ปริมาณการซื้อขาย (Volume)
Volume ปริมาณการซื้อขาย เงื่อนไขในการสังเกต Volume
Candlestick & Volume
Candlestick & Volume Confirm Buy
TREND แนวโน้มราคา ...แนวโน้มขึ้น (up trend)... “ หุ้นกำลังขึ้น ” อ้างอิงจาก : การวิเคราะห์ทางเทคนิค (Technical Analysis)สุรชัย ไชยรังสินันท์
TREND แนวโน้มราคา ...แนวโน้มลง (down trend)... “ หุ้นกำลังตก ” อ้างอิงจาก : การวิเคราะห์ทางเทคนิค (Technical Analysis)สุรชัย ไชยรังสินันท์
TREND แนวโน้มราคา ...แนวโน้มด้านข้าง (sideway trend)...
แนวรับ – แนวต้าน Support - Resistance
แนวรับ-แนวต้าน Support - แนวรับ
แนวรับ-แนวต้าน Resistance - แนวต้าน
แนวรับ-แนวต้าน แนวรับกลายเป็นแนวต้าน “ แนวรับ… รับไว้ไม่ให้ตก แนวต้าน… ต้านไว้ไม่ให้ขึ้น ” “ (แนว) ต้านกลายเป็น (แนว) รับ... (แนว) รับกลายเป็น (แนว) ต้าน ”