120 likes | 268 Views
File : tu110_welcome_12.swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ ( Integrated Humanities). ยินดีต้อนรับเข้าสู่. Enter Course. บทที่ 12 สถาปัตยกรรมกับการสร้างรัฐชาติไทย (สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์-ชาตินิยม). คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน.
E N D
File :tu110_welcome_12.swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ (Integrated Humanities) ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Enter Course บทที่ 12 สถาปัตยกรรมกับการสร้างรัฐชาติไทย (สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์-ชาตินิยม) คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_12_Objective.swf
File :tu110_Objective_12.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้ประจำบทเรียน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์tu110_home_12.swf
File :tu110_home_12.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญประจำบทเรียน สารบัญบท สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ สถาปัตยกรรมยุค 2475 สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ คลิกเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา Music Background • เมื่อคลิกปุ่ม สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ ลิงค์ไปยังไฟล์ • tu110_12_ 01.swf • เมื่อคลิกปุ่ม สถาปัตยกรรมยุค 2475 ลิงค์ไปยังไฟล์ • tu110_12_03 .swf • เมื่อคลิกปุ่ม สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ ลิงค์ไปยังไฟล์ • tu110_12_08 .swf
File :tu110_12_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ 1 2 • ชาติถูกสร้างขึ้นมาจากจินตนาการ 3 ส่วน คือ ขอบเขต (พื้นที่-มีเส้นแบ่งเขตแดน) ประวัติศาสตร์ และ สัญลักษณ์ 1 3 ประวัติศาสตร์ 4 ขอบเขต (พื้นที่-มีเส้นแบ่งเขตแดน) สัญลักษณ์ สวัสดีครับครั้งนี้เราจะมาศึกษากันถึงสถาปัตยกรรมกับการสร้างชาติไทยนั้นมีความเกี่ยวข้องกัน อย่างไร ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจกันก่อนว่าว่า ชาติถูกสร้างขึ้นมาจากจินตนาการ 3 ส่วนคือ ขอบเขต ของเขตก็คือ พื้นที่มีเส้นแบ่งเขตแดน มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน และ ต้องมีสัญลักษณ์ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ การนำเสนอให้แสดงภาพแผนที่โลกขึ้นมา จากนั้นเมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงเส้นประรอบๆแผนที่ประเทศไทย จากนั้นให้ซูมออกมาเป็นประเทศไทยเต็มๆตามลำดับภาพที่ จากนั้นภาพที่หนึ่งเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ 1 2 1 3 4 1 2 2 3 3 4 4
File :tu110_12_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง 2 • ชาติถูกสร้างขึ้นมาจากจินตนาการ 3 ส่วน คือ ขอบเขต (พื้นที่-มีเส้นแบ่งเขตแดน) ประวัติศาสตร์ และ สัญลักษณ์ • การรับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทยตามแบบจารีตประเพณี จากเดิมมีชั้นเดียว ได้รับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกโดยสร้างเพิ่มเป็นตึก 2-3 ชั้น แต่ยังคงหลังคาครอบตามแบบสถาปัตยกรรมไทยแบบจารีต 1 1 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 2 3 5 พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง วัดเบญจมบพิตร ตัวอย่างรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทย ตามแบบจารีตประเพณีที่มีชั้นเดียว เมื่อเราได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทยตามแบบจารีตประเพณี จากเดิมมีชั้นเดียว เมื่อได้รับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกโดยสร้างเพิ่มเป็นตึก 2-3 ชั้น แต่ยังคงหลังคาครอบตามแบบสถาปัตยกรรมไทยแบบจารีต เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง, โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น ซึ่งเป็นต้นแบบของสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ และสถาปัตยกรรมสองแห่งหลังสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งเรียนจบจากต่างประเทศ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และข้อความลำดับที่ จากนั้นเฟดภาพลำดับที่หนึ่งไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ 1 2 3 1 1 4 5 2 2 2 3 6 4 5 6 3 2 3 4 6 5 4 5 6 4 5 6 6 โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย 6 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย
File :tu110_12_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 การใช้สถาปัตยกรรมที่ไม่มีหลังคาจั่วแบบคณะราษฎรเป็นฉาก 1 • แกนนำคณะราษฎรได้นำรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกมาใช้ในการก่อสร้างอย่างเต็มที่ มีการใช้สัญลักษณ์แทนการเปลี่ยนแปลงการปกครองหลายประการ ได้แก่ รูปพานรัฐธรรมนูญ เช่น อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์หลักสี่ เป็นต้น • การใช้หลัก 6 ประการกับประตู 6 บานที่ฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย หรือปล้องไฉน 6 ปล้องที่เจดีย์ วัดมหาธาตุ บางเขน และเสา 6 ต้นที่อาคารศาลฎีกา เป็นต้น • อาคารที่สร้างหลัง 2475 นิยมไม่มีหลังคาแบบไทย ซึ่งแสดงถึงการปฏิเสธอดีต 1 คณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลง การปกครอง 2475 2 รูปพานรัฐธรรมนูญ อนุสาวรีย์หลักสี่ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย วัดมหาธาตุ บางเขน 3 ในสมัยของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 แกนนำคณะราษฎรซึ่งเรียนจบจากต่างประเทศได้นำรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกมาใช้ในการก่อสร้างอย่างเต็มที่ มีการใช้สัญลักษณ์แทนการเปลี่ยนแปลงการปกครองหลายประการ ได้แก่ รูปพานรัฐธรรมนูญ เช่น อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์หลักสี่ เป็นต้น มีการใช้หลัก 6 ประการกับประตู 6 บานที่ฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย หรือปล้องไฉน 6 ปล้องที่เจดีย์ วัดมหาธาตุ บางเขน และเสา 6 ต้นที่อาคารศาลฎีกา เป็นต้น นอกจากนี้ อาคารที่สร้างหลัง 2475 นิยมไม่มีหลังคาแบบไทย ซึ่งแสดงถึงการปฏิเสธอดีต • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และข้อความลำดับที่ จากนั้นเฟดภาพลำดับที่หนึ่งไป • จากนั้นแสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ และภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ 1 2 1 3 4 1 5 2 6 2 3 4 5 6 7 6 2 5 7 3 3 การใช้สถาปัตยกรรมที่ไม่มีหลังคาจั่วแบบคณะราษฎรเป็นฉาก 4 2 2 4 5 3 3 6 6 7 5 6 7 7 4
File :tu110_12_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 3 1 • ประติมากรรมไทยในสมัยคณะราษฎรสร้างตามแบบตะวันตก รูปปั้นสมัยนี้มีการแสดงออกถึงกล้ามเนื้อตามสัดส่วนแบบสมจริง สร้างเป็นรูปเปลือยชายหญิงเป็นสัญลักษณ์แทนประชาชน เป็นรูปปั้นที่สื่อความหมายทางอุดมการณ์ความคิด 1 รูปปั้นคนที่ทำงานในชีวิตประจำวัน 2 รูปปั้นครุฑ รูปปั้นครุฑและแตรงอนสัญญลักษณ์ของกิจการไปรษณีย์ไทยในอดีต ประดิษฐานอยู่ส่วนยอดของอาคารตึกไปรษณีย์กลางทั้งทิศเหนือและทิศใต้ เป็นฝีมือปั้นของทีมงานศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี - 4 รูปปั้นครุฑ รูปเปลือยชายหญิง ประติมากรรมไทยในสมัยคณะราษฎรก็นิยมสร้างตามแบบตะวันตก โดยเฉพาะรูปปั้นที่สร้างขึ้นในสมัยนี้มีการแสดงออกถึงกล้ามเนื้อตามสัดส่วนแบบสมจริง และนิยมสร้างเป็นรูปเปลือยชายหญิงเป็นสัญลักษณ์แทนประชาชน เป็นรูปปั้นที่สื่อความหมายทางอุดมการณ์ความคิด เช่น มีรูปปั้นคนหลายคนร่วมกันเข็นธรรมจักรขึ้นที่สูง หรือเป็นรูปปั้นคนที่ทำงานในชีวิตประจำวัน กล่าวได้ว่า แม้แต่รูปปั้นครุฑยังมีการแสดงออกถึงกล้ามเนื้อเช่นเดียวกับคนธรรมดา ซึ่งในจิตรกรรมก็มีลักษณะของคนแบบสมจริงเช่นเดียวกัน • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ และภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ 1 1 2 1 2 3 4 3 2 3 4 3 1 2
File :tu110_12_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 ผู้หญิงควรสวมหมวก 1 • ยุคสมัยที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี • การเรียกร้องให้เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลตามแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น เช่น ผู้หญิงควรสวมหมวก เลิกกินหมาก • การประดิษฐ์ศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เช่น รำวงมาตรฐาน • การกำหนดชุดแต่งกายเมื่อไปติดต่อสถานที่ราชการ ให้มีการทักทายเมื่อพบกันด้วยคำว่า สวัสดี เป็นต้น 2 2 รำวงมาตรฐาน 1 4 3 3 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 4 ชุดแต่งกาย ต่อมาในยุคสมัยที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี มีการเรียกร้องให้เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลตามแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น เช่น ผู้หญิงควรสวมหมวก เลิกกินหมาก มีการประดิษฐ์ศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เช่น รำวงมาตรฐาน มีการกำหนดชุดแต่งกายเมื่อไปติดต่อสถานที่ราชการ ให้มีการทักทาย เมื่อพบกันด้วยคำว่า สวัสดี เป็นต้น • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 4 1 1 2 2 3 3 4 4
File :tu110_12_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 • นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าเสรีไทย ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำทางการเมืองของประเทศไทยหลังจากเกิดการพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาต้องลาออกเพื่อแสดงความรับผิดชอบ หลังจากเกิดกรณีกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 1 1 2 5 นายปรีดี คณะราษฎรสายทหารบก จอมพล ป. พิบูลสงคราม • เกิดการรัฐประหาร 2490 นายปรีดีต้องเดินทางออกจากประเทศไทย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง • คณะราษฎรสายนายปรีดีและสายทหารเรือ เริ่มเสื่อมบทบาทลงไป ขณะที่คณะราษฎรสายทหารบก กับคณะรัฐประหาร 2490 เริ่มมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น 2 3 4 3 พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ผู้นำคณะรัฐประหาร 2490 หลังจากการพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ต้องคดีเป็นอาชญากรระหว่างประเทศ และทำให้นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าเสรีไทย ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำทางการเมืองของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การเกิดกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ในช่วงที่นายปรีดี ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทำให้นายปรีดีต้องลาออกจากตำแหน่งเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ต่อมาภายหลังได้เกิดการรัฐประหาร 2490 ขึ้นมา นายปรีดีต้องเดินทางออกจากประเทศไทย แม้ว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่บทบาทของคณะราษฎรสายนายปรีดีและสายทหารเรือ เริ่มเสื่อมบทบาทลงไป ใน ขณะที่คณะราษฎรสายทหารบก กับคณะรัฐประหาร 2490 เริ่มมีบทบาททางการเมืองที่สูงเด่นขึ้น • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 1 4 1 2 2 5 3 3 4 4 2 5 5 3
File :tu110_12_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 1 • การกลับมาของคณะรัฐประหาร 2490 ได้หันเปลี่ยนกระแสการสร้างงานศิลปะไปเป็นแบบไทยประยุกต์ • มรดกผลงานของ เขียน ยิ้มศิริ ได้ชนะในปี 2492 กับ 2494 ทางสถาปัตยกรรมประติมากรรมแนวไทยประยุกต์ • การก่อสร้างในรูปแบบสถาปัตยรรมไทยประยุกต์ ได้แก่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของศาลากลางจังหวัด โรงเรียน อาคารของราชการเป็นจำนวนมาก นับตั้งแต่รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นมา ประติมากรรมแนวไทยประยุกต์ 1 ตัวอย่างสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ หลัง พ.ศ. 2490 4 5 2 3 6 3 2 ตัวอย่างศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ผลงานของ เขียน ยิ้มศิริ เขียน ยิ้มศิริ การกลับมาของคณะรัฐประหาร 2490 ได้หันเปลี่ยนกระแสการสร้างงานศิลปะไปเป็นแบบไทยประยุกต์อีกครั้งหนึ่ง ในทางประติมากรรมแนวไทยประยุกต์ มรดกผลงานของ เขียน ยิ้มศิริ ได้ชนะในปี 2492 กับ 2494 ในทางสถาปัตยกรรมนั้น มีการก่อสร้างหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในรูปแบบสถาปัตยรรมไทยประยุกต์ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของศาลากลางจังหวัด โรงเรียน อาคารของราชการเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ได้ก่อสร้างนับตั้งแต่รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นมา • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพลำดับที่ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 1 1 2 3 4 4 1 2 2 3 2 3 4 5 3 4 6
File :tu110_12_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ 1 • สถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ในปัจจุบัน มีความนิยมลดรูปและไร้การประดับตกแต่งตามแบบจารีตประเพณี • อาคารราชการร่วมสมัยมีการสร้างใหม่ตามสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ เช่น ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยเฉพาะ แผนการสร้างศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 1 2 2 4 แผนการสร้างศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง 3 ศาลฎีกาตึกที่สร้าง สมัยคณะราษฎร ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ ศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง แม้ว่าสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ในปัจจุบัน มีความนิยมลดรูปและไร้การประดับตกแต่งตามแบบจารีตประเพณีแล้ว แต่อาคารราชการร่วมสมัย เช่น ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยเฉพาะ แผนการสร้างศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง คือการทุบตึกที่สร้างในสมัยคณะราษฎรทิ้ง เพื่อสร้างใหม่ตามสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ 1 2 4 3 1 1 2 3 4 1 2 2 2 3 1 4 3 4
File :tu110_12_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรม 2475 สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ 1 สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ 3 สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ 2 การใช้สถาปัตยกรรมที่ไม่มี หลังคาจั่วแบบคณะราษฎร เป็นฉาก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ ศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง รูปครุฑ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ การเมืองก็มีผลต่อสถาปัตยกรรมในแต่ละช่วงด้วยนะครับ สรุปได้ว่าสถาปัตยกรรมมีด้วยกันสามช่วงคือ สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ สถาปัตยกรรม 2475 และ สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ ที่นี้พอเราเห็นอาคารต่างๆ ที่ได้เรียนมาคงทราบแล้วว่าเป็นสถาปัตยกรรมแบบใดเกี่ยวข้องกับการเมืองช่วงใด สำหรับครั้งนี้คงมีเพียงเท่านี้ไว้พบกันคราวหน้าซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายสำหรับวิชานี้แล้วนะครับ สวัสดีครับ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ 1 2 3 1 1 2 3 1 2 2 3 3 4