1 / 35

ข้อมูลพื้นฐาน บ้านเนินกว้าว หมู่. 11 ต.วัด ไทรย์

การบูร ณา การสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บ้านเนินกว้าว หมู่ ๑๑ ตำบลวัดไทร อ.เมือง จ.นครสวรรค์. ข้อมูลพื้นฐาน บ้านเนินกว้าว หมู่. 11 ต.วัด ไทรย์. รพ.สต.วัดไทร. หมู่ 11 บ้านเนินกว้าว 187 หลังคาเรือน ประชากร ที่อยู่จริง จำนวน 5 74 คน

yeo-harper
Download Presentation

ข้อมูลพื้นฐาน บ้านเนินกว้าว หมู่. 11 ต.วัด ไทรย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บ้านเนินกว้าว หมู่ ๑๑ ตำบลวัดไทร อ.เมือง จ.นครสวรรค์

  2. ข้อมูลพื้นฐานบ้านเนินกว้าว หมู่. 11 ต.วัดไทรย์ รพ.สต.วัดไทร • หมู่ 11 บ้านเนินกว้าว 187 หลังคาเรือน • ประชากร ที่อยู่จริง จำนวน 574 คน ชาย 312 คน หญิง 262 คน • อายุ 15 ปีขึ้นไป 464 คน = 80.83% • อายุ 60 + = 85 คน = 14.80% บ้านเนินกว้าว กองทุนสุขภาพตำบลระดับ A อัตลักษณ์”งานปั้นลายไทย และอาชีพปลูกผักชี มีกลุ่มออมทรัพย์ที่เข้มแข็งและดำเนินการมายาวนาน 28 ปี มีกลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ที่เข้มแข็งและดำเนินการมายาวนาน 26 ปี มีร้านค้าศูนย์สาธิตการตลาดมายาวนานและดำเนินการมา 26 ปี

  3. จุดเริ่มต้น ของคนสุขภาพดีลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ด้วยวิถีไทย หมู่ที่ 11 ตำบลวัดไทร จำนวน ประชากรที่อายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมด 464 คน

  4. จุดเริ่มต้น ของคนสุขภาพดี ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ด้วยวิถีไทย หมู่ที่ 11 ตำบลวัดไทร จำนวน ประชากรที่อายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมด 464 คน

  5. วัตถุประสงค์ • กลุ่มปกติไม่ไปเป็นกลุ่มเสี่ยง • กลุ่มเสี่ยงไม่ไปเป็นกลุ่มป่วย • แต่จะเป็นกลุ่มปกติ • กลุ่มผู้ป่วยลดระดับความรุนแรงได้ •  ผู้ป่วย รับประทานยาน้อยลง

  6. การจัดทำแผนชุมชนในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพการจัดทำแผนชุมชนในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ

  7. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การดำเนินงานร่วมระหว่างองค์กร ในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ปี พ.ศ.2555 มีความเข้มแข็งและยั่งยืนในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในพื้นที่ ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ประชาชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ฐานเรียนรู้ชุมชน ระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดทำแผนการดำเนินการ ร่วมกันกำหนดรูปแบบ/ทิศทาง กระบวนการ มีข้อมูลพื้นฐานที่ชัดเจน ถูกต้อง/นำไปใช้ได้ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะที่เหมาะสม พื้นฐาน

  8. ร่วมกันลงนามความร่วมมือโครงการร่วมกันลงนามความร่วมมือโครงการ

  9. ดำเนินงานต่อเนื่องโดย อสม. /จนท.เป็นพี่เลี้ยงด้านวิชาการ กระเป๋าประจำตัวผู้ป่วย เบาหวาน/ความดัน

  10. การพัฒนาการสร้างสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานตำบลวัดไทรย์การพัฒนาการสร้างสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานตำบลวัดไทรย์ กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน อสม.ให้การดูแลผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้าน จัดตั้งกลุ่มสร้างสุขภาพผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  11. อสม.เชี่ยวชาญคัดกรองเบาหวานอสม.เชี่ยวชาญคัดกรองเบาหวาน อสม.เชี่ยวชาญคัดกรองความดัน

  12. ส่งเสริมให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารส่งเสริมให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ที่ถูกต้องเหมาะสมตามโภชนะบัญญัติ ปิ่นโตสุขภาพ

  13. นวัตกรรม/ผลงานเด่น การส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การนำฤาษีดัดตนมาออกกำลังกายคลายโรค(ทางกาย)และเครียด(ทางใจ) การออกกำลังกาย ในท่าฤาษีดัดตน โดย ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์การเรียนรู้หมู่ 11

  14. นวัตกรรม

  15. ฐานที่ ๑ ระบบข้อมูลและผลิตน้ำดื่มกลุ่มผู้ผลิตน้ำดื่มบ้านเนินกว้าว เพื่อสวัสดิการแก่คนในชุมชน ไม่จำหน่ายเชิงธุรกิจ และ เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่าง ๆ ระดับหมู่บ้านและตำบล เรียนรู้การจัดทำบัญชีครัวเรือน เรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน เป็นศสมช. เป็นศูนย์เรียนรู้ กศน.ตำบล เป็นที่ทำการทำเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านระดับตำบล และที่ทำการกำนันตำบลวัดไทรย์ เรียนรู้ประโยชน์และการทำน้ำดื่มสมุนไพร

  16. ฐานที่ ๒ กลุ่มออมทรัพย์กับร้านค้าชุมชน : คุณประไพ ภาชนะ เป็นฐานที่เรียนรู้เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกิจกรรมร้านค้าชุมชนบ้านเนินกว้าว กลุ่มอาชีพผลิตน้ำพริกแม่บ้านเนินกว้าว

  17. ฐานที่ ๓ บ้านน้ำยาเอนกประสงค์: เป็นฐานที่เรียนรู้เกี่ยวกับการทำน้ำยาเอนกประสงค์ต่าง ๆ จากผัก ผลไม้ เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น น้ำยาล้างจานน้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างห้องน้ำ ครีมอาบน้ำ สบู่ วุ้นและน้ำสกัดจากมะเฟืองเพื่อดูแลผิวหน้า รวมทั้งการต่อขยายเชื้อ EM

  18. ฐานที่ ๔ ครัวเรือนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง: คุณนิสารัตน์ ประสี เป็นผู้รับผิดชอบ เรียนรู้วิถีการดำรงชีวิตแบบพอเพียงของทุกคนในครัวเรือน มีกิจกรรมที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น การใช้พลังงานทดแทนแก๊สชีวภาพ เตาเผาขยะและถ่าน การปลูกผักประหยัดน้ำ และการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อสร้างรายได้ประจำให้กับครัวเรือน ส่งผลให้คนในครอบครัวมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  19. ฐานที่ ๕ โรงสีชุมชน: คุณไพโรจน์ เทียนศรี เป็นผู้รับผิดชอบ เรียนรู้เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมของโรงสีชุมชน ที่ให้บริการ ๓ ฟรี คือ หนึ่งตากข้าวฟรี สองสีข้าวฟรี และสามโกดังเก็บข้าวฟรี ผลประโยชน์ที่โรงสีได้รับคือ รำ ข้าวปลาย และแกลบ สำหรับนำไปจำหน่ายให้คนในชุมชนเพื่อใช้ในการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งนับเป็นการส่งเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงอีกทางหนึ่ง แล้วนำรายได้ไปบำรุงรักษาเครื่องจักรของโรงสีชุมชน.....นอกจากกิจกรรมของโรงสีชุมชนแล้ว คุณไพโรจน์ เทียนศรี ยังได้เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านไร่นาสวนผสมและเกษตรทฤษฎีใหม่ให้ความรู้แก่คนในชุมชนด้วย

  20. ฐานที่ ๖ ปุ๋ยไส้เดือนและฮอร์โมนชีวภาพ:นายสุรินทร์ สินธุสิงห์ เป็นผู้รับผิดชอบ เรียนรู้วิธีการเพาะเลี้ยงไส้เดือน การผลิตดินและฮอร์โมนพืชจากฉี่และมูลไส้เดือน ฮอร์โมนจากหัว พุง ไข่ปลา เพื่อเป็นอาหารเสริมบำรุงพืชทางใบ

  21. ฐานที่ ๗ ผักปลอดสารพิษ (๑): คุณทองสุข ภู่ทิพย์ เป็นผู้รับผิดชอบ ให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งของผู้ผลิตและผู้บริโภค เทคนิคการปลูกบวบให้มีรสชาดหวาน

  22. ฐานที่ ๘ งานปั้นลายไทย: คุณนิเวศน์ สุริยะเป็นผู้รับผิดชอบเรียนรู้เกี่ยวกับงานแกะสลักและงานปั้นลายไทย ซึ่งเรียกได้ว่า “เป็นอัตลักษณ์” ของบ้านเนินกว้าว เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดต่อกันมาหลายรุ่น กลายเป็นอาชีพหลักอย่างหนึ่งที่สร้างรายได้ให้แก่คน ในชุมชนจำนวนมาก

  23. ฐานที่ ๙ แปลงนาสาธิต “กล้าข้าวโยนปลอดสารพิษ” : นายปิยะศักดิ์ โพธิ์น้อย ขนาด ๑๔ ไร่ มีวิธีปลูกข้าวโดยโยนกล้าลงไปในนา เพื่อประโยชน์หนึ่งประหยัดพันธุ์ข้าวปลูก สองหนีข้าวดีด สามหนีหญ้าทำให้ไม่ต้องใช้ยาฆ่าหญ้าที่เป็นสารเคมี ดูแลโดยใช้ระบบอินทรีย์ ชีวภาพและวิธีการทางธรรมชาติ เพื่อการได้มาซึ่งข้าวปลอดสารพิษสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้บริโภค

  24. ฐานที่ ๑๐ เตาเผาน้ำส้มควันไม้: นายปิยะศักดิ์ โพธิ์น้อย เป็นผู้รับผิดชอบ เรียนรู้วิธีการสร้างเตาเผาน้ำส้มควันไม้ วิธีการใช้เตาเผาเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาเป็นถ่าน และน้ำส้มควันไม้ รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์

  25. ฐานที่ ๑๑ บ่อบำบัดน้ำทิ้งจากครัวเรือน : นายวิฑูรย์ ทองแจ่ม เป็นผู้รับผิดชอบ เป็นการเรียนรู้วิธีการนำน้ำทิ้งจากครัวเรือนมาใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงปลา ปลูกพืชผักสวนครัว

  26. ฐานที่ ๑๒ ผักปลอดสารพิษ (๒): คุณสวรรญา พาหา เป็นฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษอีกฐานหนึ่งที่ให้ความรู้กระบวนการผลิต ทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผักที่ปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค

  27. ฐานที่ 13 เพาะเห็ดนางฟ้า : คุณหาญ ยุพาพิน เพิ่มแหล่งอาหารปลอดสารให้หลากหลาย ลดโรค ฐ

  28. โรงเรียนอสม. นวัตกรรม โรงเรียนอสม.พัฒนาศักยภาพและทักษะสำคัญที่ใช้ในการทำงานชุมชนเช่น ทักษะการตรวจคัดกรองสุขภาพการทำแผนที่สุขภาวะ(Mapping) ให้กับทีมสุขภาพหลักของชุมชน พัฒนาศักยภาพและทักษะสำคัญการเสริมพลังอำนาจ(Empowerment)  สร้างเครือข่ายสร้างพลังสุขภาพในชุมชน

  29. ครูอสม.สอนนวดเท้าด้วยลูกกระสุนนวดกระตุ้นฝ่าเท้าตนเองด้วย โดยการให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลเท้า สมุนไพรนวดกระตุ้นและกำจัดเซลล์ที่ตาย นวดกระตุ้นและกำจัดเซลล์ที่ตาย

  30. การนวดเท้าต้องให้หมอนวดแผนโบราณนวดให้ จึงคิดค้นการนวดเท้าของผู้ป่วยเบาหวานด้วยวัสดุที่หาได้ง่ายและราคาไม่แพงที่ผู้ป่วยหาตามกำลังทรัพย์ ลูกกระสุน 2. กระด้งไม้ไผ่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร 3. ผ้าคลุมกระด้ง วิธีใช้ นำลูกกระสุนขนาดพอเหมาะจำนวน 500 ลูก วางบนกระด้งที่พื้น เวลาใช้งานให้ผู้ป่วยนั่งบนเก้าอี้ที่ วางเท้าทั้งสองข้างลงบนลูกกระสุน แล้วกดเท้าลงเล็กน้อย วนเท้าไปมา ทำวันละ 2-3 ครั้ง ๆ 15 นาที ประโยชน์ที่จะได้รับ ลูกแก้วจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนเลือดบริเวณเท้าจะทำให้เท้ามีความรู้สึก และเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่นเวลานั่งดูทีวีก็สามารถนวดเท้าไปด้วย

  31. ผลการดำเนินงาน โครงการลดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ด้วยวิถีชีวิตไทย หมู่ที่ 11 ตำบลวัดไทร จำนวน ประชากรที่อายุ 15 ปี ขึ้นไปทั้งหมด 464 คน

  32. ผลการดำเนินงาน โครงการลดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ด้วยวิถีชีวิตไทย หมู่ที่ 11 ตำบลวัดไทร จำนวน ประชากรที่อายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมด 464 คน

  33. นอกจากนี้ได้รับเกียรติจาก ประเทศอินเดียและเนปาลมาดูงาน ความภาคภูมิใจ การดำเนินงานสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยแบบพอเพียง สามารถเป็นที่ศึกษาดูงานของคนหมู่บ้านอื่น ตำบลอื่น อำเภออื่น จังหวัดอื่น เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็นเป็นสุข ระดับจังหวัด

  34. ๓ล. กรอบแนวคิด “วิถีชีวิตพอเพียง บริโภคอาหารเหมาะสม ออกกำลังกายเพียงพอ จัดการอารมณ์ได้เหมาะสม กินยาครบไม่ฟุ่มเฟื่อยตามแบบวิถีไทย”( ลดป่วย ลดโรค ลดยา ) สวัสดี

More Related