1 / 18

โดย นางกมลา วัฒนายิ่งเจริญชัย หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

นโยบายการพัฒนาสุขภาพและสถานการณ์ การใช้ข้อมูลเพื่อ พัฒนาศักยภาพ ของ โรงพยาบาล ในจังหวัด ขอนแก่น. โดย นางกมลา วัฒนายิ่งเจริญชัย หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย. บนหลักการ ประกันคุณภาพ ประกันราคา

Download Presentation

โดย นางกมลา วัฒนายิ่งเจริญชัย หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการพัฒนาสุขภาพและสถานการณ์การใช้ข้อมูลเพื่อพัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาล ในจังหวัดขอนแก่น โดยนางกมลา วัฒนายิ่งเจริญชัย หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

  2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย • บนหลักการ • ประกันคุณภาพ • ประกันราคา • เข้าถึงบริการ • บริการระดับสูง ต้อง • คุ้มค่าการลงทุน • ความเชี่ยวชาญเฉพาะ • เป็นเครือข่ายบริการ 1 หมื่นคน Ex. Cent. 3-5 หมื่นคน ตติยภูมิ 8 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 3 Service plan 2 แสนคน ทุติยภูมิ ระดับ 2 1 ล้านคน ทุติยภูมิ ระดับ 1 ปฐมภูมิ 2 ล้านคน บริการระดับต้น ประชาชน-ท้องถิ่น ดำเนินการได้ ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง 5ล้านคน แพทย์ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ระดับต้น 1: 10,000 GP:SP = 40:60

  3. “บริการสุขภาพที่ตอบสนองต่อความต้องการประชาชน”“บริการสุขภาพที่ตอบสนองต่อความต้องการประชาชน” Service plan หมายถึง..... แผนในการจัดบริการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบริการของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยแบ่งพื้นที่บริการ 12 เครือข่าย ประชาชนจะได้รับบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จในเครือข่ายบริการ

  4. Service plan “ตอบสนองความต้องการของประชาชน” KKPHO,2014 • สาขาบริการ • หัวใจ • มะเร็ง • ทารกแรกเกิด • อุบัติเหตุ • จิตเวช • 5 สาขาหลัก • ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ องค์รวม • ทันตกรรม • ไตและตา • NCD • สาขาอื่นๆ ระดับเขตสุขภาพ: ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ระดับจังหวัด: A S M1 M2 F1 F2 F3 P1 P2 ระดับ รพ./CUP: ทุกสาขา แผนบริการ แผนลงทุน แผนกลยุทธ์ ส่งต่อ • แผนกลยุทธ์ • Gap analysis • Approach • Goal • KPI • แผนลงทุน • คน • อาคาร • ครุภัณฑ์ • แผนบริการ • ส่งเสริม • ป้องกัน • รักษา • ฟื้นฟู เป้าหมาย/ตัวชี้วัด 1.ลดตาย 2.ลดป่วย 3.ลดระยะรอคอย 4.เพิ่มเข้าถึงบริการ 5.เพิ่มประสิทธิภาพ(คุ้มค่า) ตัวชี้วัดความสำเร็จ: 1. มีกรรมการ/ผชช.3. จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการ 2. Gap analysis 4. บริหารจัดการตามแผนพัฒนาฯ

  5. 44 kpi

  6. วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดขอนแก่นวิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดขอนแก่น “ ประชาชนสุขภาพดี มีระบบบริหารและบริการที่มีคุณภาพ” พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะและ มีความสุขในการทำงาน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแลและจัดการระบบสุขภาพ พัฒนาระบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเป็นธรรม สร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค พันธกิจ ยุทธ ศาสตร์หลัก 1.การเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธภาพ 4.พัฒนาระบบบริหารจัดการ แบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 3.การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการพัฒนาสุขภาพ 2.พัฒนาระบบบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพ ไร้รอยต่อ 1.สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพ 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่เป็นภัยต่อสุขภาพ 3.พัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อให้ประชาชนได้รับและใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ 7.พัฒนาการบริหาร ระบบ สารสนเทศและยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อสนับสนุนการให้บริการ 8. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะเหมาะสมในการปฏิบัติราชการและมีความผาสุกในการทำงาน 9ใหน่วยบริการสุขภาพสามารถจัดการทางการเงินให้อยู่ในสภาวะสมดุล 6สร้างการมีส่วนร่วมและความเข็มแข็งในภาคประชาสังคม เพื่อดูแลสุขภาพในชุมชน 4.พัฒนาคุณภาพและศักยภาพสถานพยาบาลทุกระดับให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานและสามารถให้บริการแพทย์แผนไทยได้ตามเกณฑ์ 5.ลดความแออัดในสถานบริการและจัดระบบบริการในเครือข่ายแบบไร้รอยต่อ ประ เด็นยุทธ ศาสตร์

  7. ประเด็นการตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 • เป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชน สามารถเข้าถึงบริการได้ • ตัวชี้วัดดัชนีผู้ป่วยใน (CMI) ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

  8. ตัวชี้วัดคุณภาพบริการตัวชี้วัดคุณภาพบริการ 15. ดัชนีผู้ป่วยใน (CMI) ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด คำนิยาม CMI (Case Mix Index) หมายถึง ค่าเฉลี่ยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว (Adjusted Relative Weights : AdjRw) ของผู้ป่วยในทั้งหมดที่จำหน่ายในช่วงเวลาที่กำหนด

  9. แหล่งข้อมูล สูตรการคำนวณตัวชี้วัด ค่า CMI = ( A/B ) รายการข้อมูล 1 : A = ผลรวมน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว (AdjRw) รายการข้อมูล 2: B = จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด ข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคลที่ผ่านการจัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ( DRG)

  10. ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (RW)หมายถึง ค่าที่สะท้อนการใช้ทรัพยากรหรือ ต้นทุนเฉลี่ยในการดูแลผู้ป่วยในกลุ่ม DRG นั้นซึ่งเป็นค่ารักษาพยาบาล ค่าเฉลี่ยของรายกลุ่มโรค หารด้วยค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยของทุกราย ซึ่งเป็นตัวเลขเชิงเปรียบเทียบว่า ผู้ป่วยแต่ละกลุ่มโรคใช้ทรัพยากรของ โรงพยาบาลในการรักษาผู้ป่วยกลุ่มโรคนั้น ๆ เฉลี่ยเป็นกี่เท่าของ ค่าเฉลี่ยของในการรักษาผู้ป่วยทั้งหมด ค่าAdjusted RW (AdjRw)หมายถึง ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์(RW)ของผู้ป่วยในที่ได้นำไปปรับด้วยข้อมูลจำนวนวันนอนมาตรฐาน

  11. เกณฑ์เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 เกณฑ์เป้าหมายปีงบประมาณ 2557 15.1 รพศ.(A) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 1.6 15.2 รพท. (S) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 1.2 15.3 รพท.ขนาดเล็ก (M1) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 1.0 15.4 รพช.แม่ข่าย (M2) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 0.8 15.5 รพช.(F1-F3) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 0.6

  12. ค่า CMI ปี 2556 เปรียบเทียบค่าเป้าหมายปี 2557 สรุปรายโรงพยาบาลในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น

  13. Case Mix Index (CMI) แสดงถึงศักยภาพและประสิทธิภาพในการ ดำเนินงานรักษาพยาบาลผู้ป่วยในว่าโรงพยาบาล สามารถให้การรักษาพยาบาลเป็นไปตามศักยภาพ ของแต่ละระดับของหน่วยบริการสุขภาพที่ควรจะ เป็น โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ

  14. ค่า CMI ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ตามระดับ รพ.อาจมีสาเหตุมาจากปัจจัย • ปัญหาคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน อาจไม่สมบูรณ์ ครบถ้วน และถูกต้อง • การวินิจฉัยโรคในการรักษา เขียนไม่ละเอียด ไม่ครอบคลุมทุกหัตถการ • การให้บริการผู้ป่วยในไม่เหมาะสม เช่น เป็นผู้ป่วยที่อาจไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล หรืออาจให้การรักษาระยะเวลาน้อยหรือนานเกินไป

  15. ค่า CMI ต่ำ อาจมีสาเหตุมาจากปัจจัย ดังนี้ • ขาดทรัพยากรในการให้บริการการรักษา เช่น ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ และแพทย์เฉพาะทาง • การกำหนดระดับสถานบริการที่ไม่เหมาะสมหรือสูง เกินไป เมื่อเทียบกับความต้องการบริการการรักษาพยาบาลในพื้นที่

  16. การนำผล CMI ไปใช้ การวิเคราะห์หาส่วนขาด (Gap analysis) ระดับสถานบริการ นำมาพัฒนา/ปรับปรุงศักยภาพการบริการให้เหมาะสมและมีศักยภาพยิ่งขึ้นและควรนำไปเชื่อมโยงกับการจัดทำต้นทุนโรงพยาบาล เพื่อประกอบการประเมินประสิทธิภาพของโรงพยาบาล

  17. การวิเคราะห์หาส่วนขาด (Gap analysis) ระดับจังหวัด/เครือข่าย นำมาจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการเรื่องทรัพยากรสุขภาพ (ครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง กำลังคน)ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

  18. Thank you

More Related